สาขา : โยธา
วิชา : Theory of Structures
- จากโครงสร้างคานดังแสดงในรูป จงวิเคราะห์ว่าโครงสร้างนี่มีเสถียรภาพ (Stable) หรือไม่ เป็นโครงสร้างแบบ determinate หรือ indeterminate ถ้าเป็นโครงสร้างแบบ indeterminate โครงสร้างนี้มี degree of indeterminancy เท่าไร
- 1 : ไม่มีเสถียรภาพ
- 2 : มีเสถียรภาพ, เป็นโครงสร้างแบบ determinate
- 3 : มีเสถียรภาพ, เป็นโครงสร้างแบบ indeterminate มี degree of indeterminancy = 1
- 4 : มีเสถียรภาพ, เป็นโครงสร้างแบบ indeterminate มี degree of indeterminancy = 2
- 5 : มีเสถียรภาพ, เป็นโครงสร้างแบบ indeterminate มี degree of indeterminancy = 3
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จากโครงสร้างคานดังแสดงในรูป จงวิเคราะห์ว่าโครงสร้างนี่มีเสถียรภาพ (Stable) หรือไม่ เป็นโครงสร้างแบบ determinate หรือ indeterminate ถ้าเป็นโครงสร้างแบบ indeterminate โครงสร้างนี้มี degree of indeterminancy เท่าไร
- 1 : ไม่มีเสถียรภาพ
- 2 : มีเสถียรภาพ, เป็นโครงสร้างแบบ determinate
- 3 : มีเสถียรภาพ, เป็นโครงสร้างแบบ indeterminate มี degree of indeterminancy = 1
- 4 : มีเสถียรภาพ, เป็นโครงสร้างแบบ indeterminate มี degree of indeterminancy = 2
- 5 : มีเสถียรภาพ, เป็นโครงสร้างแบบ indeterminate มี degree of indeterminancy = 3
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- โครงข้อแข็งดังรูปมีเสถียรภาพทางโครงสร้างเป็นอย่างไร
- 1 : stable indeterminate degree of indeterminacy = 3
- 2 : stable indeterminate degree of indeterminacy = 4
- 3 : stable indeterminate degree of indeterminacy = 5
- 4 : stable indeterminate degree of indeterminacy = 6
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- Specify the number of degrees of indeterminacy of the frame shown below.
- 1 : 3
- 2 : 6
- 3 : 9
- 4 : 12
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- Specify the number of degrees of indeterminacy of the frame shown below.
- 1 : 9
- 2 : 10
- 3 : 11
- 4 : 12
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- Specify the number of degrees of indeterminacy of the frame shown below.
- 1 : 8
- 2 : 9
- 3 : 10
- 4 : 11
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงภายในชิ้นส่วน AC
- 1 : 3P/8 แรงอัด
- 2 : 3P/8 แรงดึง
- 3 : P/2 แรงดึง
- 4 : 3P/2 แรงดึง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงภายในชิ้นส่วน BD
- 1 : 5P/8 แรงอัด
- 2 : 3P/2 แรงดึง
- 3 : 3P/8 แรงอัด
- 4 : 3P/8 แรงดึง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงภายในชิ้นส่วน BC
- 1 : 3P/8 แรงอัด
- 2 : 5P/8 แรงดึง
- 3 : 15P/8 แรงอัด
- 4 : 15P/4 แรงดึง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงภายในชิ้นส่วน AC
- 1 : 3P/8 แรงอัด
- 2 : 3P/8 แรงดึง
- 3 : P/2 แรงดึง
- 4 : 3P/2 แรงดึง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงภายในชิ้นส่วน BD
- 1 : 3P/8 แรงอัด
- 2 : 3P/8 แรงดึง
- 3 : 5P/8 แรงอัด
- 4 : 3P/2 แรงอัด
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงภายในชิ้นส่วน AD
- 1 : 3P/8 แรงอัด
- 2 : 5P/8 แรงดึง
- 3 : 15P/8 แรงดึง
- 4 : 15P/4 แรงดึง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงภายในมากที่สุดในชิ้นส่วน lower chord
- 1 : 2P แรงดึง
- 2 : 3P แรงดึง
- 3 : 4P แรงดึง
- 4 : 3P แรงอัด
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงภายในมากที่สุดในชิ้นส่วน upper chord
- 1 : 2P แรงอัด
- 2 : 3P แรงอัด
- 3 : 4P แรงอัด
- 4 : 3P แรงดึง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงดึงภายในที่มากที่สุดในชิ้นส่วนทแยง
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงดึงภายในที่มากที่สุดในชิ้นส่วน AB หรือ BC
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงดึงภายในที่มากที่สุดในชิ้นส่วน AE หรือ ED
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงอัดภายในชิ้นส่วน DFC ที่มากที่สุด
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
โครงสร้าง 2 มิติ ( plane structure) ที่แสดงในรูป มี unknown displacements อยู่กี่ปริมาณ
- 1 : 5
- 2 : 7
- 3 : 8
- 4 : คำตอบ 1, คำตอบ 2, คำตอบ 3 เป็นคำตอบที่ผิดทุกคำตอบ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
โครงข้อหมุนดังรูปมีเสถียรภาพทางโครงสร้างอย่างไร
- 1 : unstable
- 2 : stable+determinate
- 3 : stable+indeterminate ภายนอกดีกรี 1
- 4 : stable+indeterminate ภายในดีกรี 1
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- คานตัวใดไม่มีเสถียรภาพ
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- โครงข้อหมุนใดไม่มีเสถียรภาพ (unstable)
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
จงอธิบายเสถียรภาพของโครงข้อหมุนที่กำหนด
- 1 : ไม่มีเสถียรภาพแบบ determinate
- 2 : ไม่มีเสถียรภาพแบบ indeterminate[if� po�5{ IxakNewLine]>
- 3 : ไม่มีเสถียรภาพ
- 4 : มีเสถียรภาพแบบ determinate
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จากโครงถักรับแรงกระทำ ดังรูป จงหาชิ้นส่วนที่รับแรงดึงและแรงอัดสูงสุด
- 1 :
AB รับแรงดึงสูงสุด EF รับแรงอัดสูงสุด
- 2 : AB รับแรงดึงสูงสุด AE รับแรงอัดสูงสุด
- 3 : BC รับแรงดึงสูงสุด EF รับแรงอัดสูงสุด
- 4 : CD รับแรงดึงสูงสุด GD รับแรงอัดสูงสุด
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จงคำนวณหาโมเมนต์ที่ฐานรองรับแบบยึดแน่น (Fixed Support) ของคานยื่น (Cantilever Beam) ดังแสดงในรูป
- 1 : 30 kN-m ตามเข็ม
- 2 : 60 kN-m ตามเข็ม
- 3 : 90 kN-m ตามเข็ม
- 4 : 120 kN-m ตามเข็ม
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จงหา maximum shear ใน member BC
- 1 : 240 kg
- 2 : 320 kg
- 3 : 300 kg
- 4 : 400 kg
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จงหา maximum moment ใน member BC
- 1 : 400 kg-m
- 2 : 600 kg-m
- 3 : 800 kg-m
- 4 : 1000 kg-m
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จงหา Axial Force ใน member BC ที่จุด B และ C ตามลำดับ
- 1 : 375 kg(T), 615 kg(T)
- 2 : 375 kg(C), 615 kg(C)
- 3 : 615 kg(T), 375 kg(T)
- 4 : 615 kg(C), 375 kg(C)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จงหา moment ใน member BC ที่จุด B และ C ตามลำดับ
- 1 : 3850 kg-m, 5950 kg-m
- 2 : 4550 kg-m, 2500 kg-m
- 3 : 2500 kg-m, 4550 kg-m
- 4 : 5950 kg-m, 3850 kg-m
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จงคำนวณหาโมเมนต์ดัดที่กระทำต่อคานของภาคตัดที่ผ่านจุด C ดังแสดงในรูป
- 1 : 166.7 kg-m
- 2 : 333.3 kg-m
- 3 : 533.3 kg-m
- 4 : 666.7 kg-m
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จงคำนวณหาแรงเฉือนภายในของภาคตัดที่ผ่านระหว่างจุด B และ C ของคานที่มีแรงกระทำอยู่ดังแสดงในรูป
- 1 : 0
- 2 : 1 T
- 3 : 2 T
- 4 : 3 T
- 5 : 4 T
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จงคำนวณหาโมเมนต์ดัดที่มากที่สุดของคานที่มีแรงกระทำอยู่ดังแสดงในรูป
- 1 : 491 kg-m
- 2 : 572 kg-m
- 3 : 693 kg-m
- 4 : 792 kg-m
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จงคำนวณหาแรงเฉือน (Shear force) VBL ที่ฝั่งซ้ายของจุด B และ VBR ที่ฝั่งขวาของจุด B ของคาน (Beam) ABCDE ดังแสดงในรูป
- 1 : VBL=46 ตัน และ VBR=14 ตัน
- 2 : VBL=14 ตัน และ VBR=64 ตัน
- 3 : VBL=30 ตัน และ VBR=30 ตัน
- 4 : VBL=20 ตัน และ VBR=40 ตัน
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จงคำนวณหาโมเมนต์ดัด (Bending Moment) MCL ที่ฝั่งซ้ายของจุด C และ MCR ที่ฝั่งขวาของจุด C ของคาน (Beam) ABCDE ดังแสดงในรูป
- 1 : MCL=420 ตัน.เมตร และ MCR=240 ตัน.เมตร
- 2 : MCL=140 ตัน.เมตร และ MCR=320 ตัน.เมตร
- 3 : MCL=320 ตัน.เมตร และ MCR=140 ตัน.เมตร
- 4 : MCL=220 ตัน.เมตร และ MCR=40 ตัน.เมตร
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จงคำนวณหาขนาดและทิศทางของแรงปฏิกริยา (Reaction forces) RD และ HD ที่จุด D และ RE ที่จุด E ของโครงข้อหมุน (Truss) ดังแสดงในรูป
- 1 : HD =500 kg.ทิศทางไปทางขวา, RD=375 kg. ทิศทางลง และ RE =375 kg.ทิศทางขึ้น
- 2 : HD =250 kg. ทิศทางไปทางขวา, RD=375 kg. ทิศทางลง และ RE =375 kg. ทิศทางลง
- 3 : HD =250 kg. ทิศทางไปทางซ้าย, RD=187.5 kg. ทิศทางขึ้น และ RE =375 kg. ทิศทางขึ้น
- 4 : HD =500 kg. ทิศทางไปทางซ้าย, RD=187.5 kg. ทิศทางขึ้น และ RE =375 kg. ทิศทางขึ้น
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จงคำนวณหาขนาดและประเภทของแรงตามแนวแกน (Axial forces) ในชิ้นส่วน BE และชิ้นส่วน DE ของโครงข้อหมุน (Truss) ABCDE ดังแสดงในรูป
- 1 : FBE =0 kg. และ FDE =375 kg. เป็นแรงดึง
- 2 : FBE =375 kg. เป็นแรงดึง และ FDE =375 kg. เป็นแรงอัด
- 3 : FBE =375 kg. เป็นแรงอัด และ FDE=0 kg.
- 4 : FBE =0 kg. และ FDE =0 kg.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จงคำนวณหาขนาดและทิศทางของแรงปฏิกริยา (Reaction forces) RA, RE และ HE ที่ฐานรองรับ A และ E ของโครงข้อแข็ง (Frame) ดังแสดงในรูป
- 1 : RA=6 ตัน มีทิศทางขึ้น, RE =1 ตัน มีทิศทางขึ้น และ HE=3 ตัน มีทิศทางไปทางขวา
- 2 : RA=6 ตัน มีทิศทางลง, RE =1 ตัน มีทิศทางลง และ HE=3 ตัน มีทิศทางไปทางซ้าย
- 3 : RA=3 ตัน มีทิศทางลง, RE =6 ตัน มีทิศทางขึ้น และ HE=1 ตัน มีทิศทางไปทางขวา
- 4 : RA=6 ตัน มีทิศทางขึ้น, RE =1 ตัน มีทิศทางลง และ HE=3 ตัน มีทิศทางไปทางซ้าย
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จงคำนวณหาขนาดและประเภทของแรงตามแนวแกน (Axial forces) ในชิ้นส่วน ABC ที่จุด B ของโครงข้อแข็ง (Frame) ดังแสดงในรูป
- 1 : NAB=6 ตัน เป็นแรงอัด
- 2 : NAB=6 ตัน เป็นแรงดึง
- 3 : NAB=3 ตัน เป็นแรงอัด
- 4 : NAB=3 ตัน เป็นแรงดึง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จงคำนวณหาแรงเฉือน (Shear force) VD ที่จุด D ของโครงข้อแข็ง (Frame) ABCDE ดังแสดงในรูป
- 1 : VD=0 ตัน
- 2 : VD=1 ตัน
- 3 : VD=6 ตัน
- 4 : VD=3 ตัน
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จงคำนวณหาโมเมนต์ดัด (Bending Moment) MD ที่จุด D ของโครงข้อแข็ง (Frame) ดังแสดงในรูป
- 1 : MD=5 ตัน.เมตร
- 2 : MD=7.5 ตัน.เมตร
- 3 : MD=10 ตัน.เมตร
- 4 : MD=15 ตัน.เมตร
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- แรงเฉือนที่จุด E ของโครงสร้างดังรูปมีค่าเท่าไร
- 1 : 0 T
- 2 : 3 T
- 3 : 6 T
- 4 : 12 T
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- ค่าโมเมนต์ดัดที่จุดซึ่งแรง 10 T กระทำบนโครงสร้างดังรูปมีค่าเท่าไร
- 1 : - 1 T-m
- 2 : - 2 T-m
- 3 : 5 T-m
- 4 : 10 T-m
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- ค่าโมเมนต์ดัดสูงสุดบนโครงสร้างดังรูปเป็นอย่างไร
- 1 : 3 T-m ที่จุดกึ่งกลางโครงสร้าง
- 2 : 27 T-m ที่จุดกึ่งกลางโครงสร้าง
- 3 : -24 T-m ที่จุด B และ C
- 4 : -27 T-m ที่จุด B และ C
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- ค่าแรงเฉือนสูงสุดบนโครงสร้างดังรูปเป็นอย่างไร
- 1 : 9.3 T ที่จุด A
- 2 : 10 T ที่จุด G
- 3 : 18 T ที่จุด B
- 4 : 29 T ที่จุด B
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- แรงปฏิกิริยาในแนวราบที่จุด A ของโครงสร้างดังรูปมีค่าเท่าไร
รูปภาพประกอบคำถาม:
- 1 : 1 T
- 2 : 4 T
- 3 : 7 T
- 4 : 18 T
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- แรงปฏิกิริยาในแนวดิ่งที่จุด E ของโครงสร้างดังรูปมีค่าเท่าไร
- 1 : 3 T
- 2 : 6 T
- 3 : 12 T
- 4 : 16 T
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- ค่าโมเมนต์ดัดสูงสุดบนโครงสร้างดังรูปเป็นอย่างไร
- 1 : -6 T-m ที่จุด C
- 2 : 6 T-m ระหว่างจุด B และ C
- 3 : 6 T-m ที่จุด B
- 4 : 10 T-m ที่จุด B
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- โครงข้อแข็งรับน้ำหนักดังรูป ที่ตำแหน่ง B มีค่าโมเมนต์ดัดเป็นเท่าใด
- 1 : 100 kg-m ทิศทางบวก
- 2 : 300 kg-m ทิศทางลบ
- 3 : 300 kg-m ทิศทางบวก
- 4 : 600 kg-m ทิศทางลบ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- โครงข้อแข็งรับน้ำหนักดังรูป มีค่าโมเมนต์ดัดสูงสุดเป็นเท่าใด
- 1 : 600 kg-m ทิศทางบวก
- 2 : 600 kg-m ทิศทางลบ
- 3 : 1400 kg-m ทิศทางบวก
- 4 : 1400 kg-m ทิศทางลบ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- คานช่วงเดียวที่รับน้ำหนักตามรูป จะมีแผนภาพโมเมนต์ดัดเป็นแบบใด
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- คานช่วงเดียวที่รับน้ำหนักตามรูป จะมีแผนภาพโมเมนต์ดัดเป็นแบบใด
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จงคำนวณหาแรงปฏิกิริยาที่ฐานรองรับของคานที่กำหนด
- 1 : R1 = (M1-M2)/L , R2 = (M2-M1)/L
- 2 : R1 = (M2-M1)/L , R2 = (M1-M2)/L
- 3 : R1 = M2/L-M1 , R2 = M1/L-M2
- 4 : R1 = M2-M1/L , R2 = M1-M2/L
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- Shear force diagram ของคานในรูปมีลักษณะเป็นอย่างไร
- 1 : กราฟเส้นตรงมีความชันเป็นบวก
- 2 : กราฟเส้นตรงมีความชันเป็นลบ
- 3 : กราฟเส้นตรงนอนความชันเป็นศูนย์
- 4 : กราฟเส้นโค้งกำลังสอง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จงเขียนสมการของ Bending moment diagram ของคานในรูป กำหนดให้ x เป็นระยะใดๆวัดจากฐานรองรับด้านซ้ายมือ
- 1 : M = (M1)(1-x)-(M2)x
- 2 : M = (M2)(1-x)+(M1)x
- 3 : M = -(M1)(1-x)-(M2)x
- 4 : M = -(M1)(1-x)+(M2)x
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- กำหนดให้M1มีค่ามากกว่าM2 ลักษณะของ Bending moment diagram สำหรับคานในรูปเป็นอย่างไร
- 1 : เส้นโค้งหงายกำลังสอง
- 2 : เส้นตรงนอนความชันเป็นศูนย์
- 3 : เส้นตรงเอียงความชันเป็นบวก
- 4 : เส้นตรงเอียงความชันเป็นลบ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จากรูปที่แสดง แรงดึงในลวดเหล็ก มีค่าเท่ากับ
- 1 : 90 กก.
- 2 : 104 กก.
- 3 : 156 กก.
- 4 : 180 กก.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จากรูปที่แสดง คานรับโมเมนต์มากที่สุดเท่ากับ
- 1 : 90 กก.-ม.
- 2 : 180 กก.-ม.
- 3 : 208 กก.-ม.
- 4 : 312 กก.-ม.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จากรูปที่แสดง คานรับแรงเฉือนมากที่สุดเท่ากับ
- 1 : 90 กก.
- 2 : 104 กก.
- 3 : 156 กก.
- 4 : 180 กก.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จากรูปที่แสดง ภาพของโมเมนต์ดัดบนคาน มีรูปเป็น
- 1 : วงกลม
- 2 : สี่เหลี่ยมผืนผ้า
- 3 : สามเหลี่ยม
- 4 : พาราโบลา
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จากรูปที่แสดง แรงในลวดเหล็กมีค่าเท่ากับ
- 1 : 6000 กก.
- 2 : 3000 กก.
- 3 : 1500 กก.
- 4 : 750 กก.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จากรูปที่แสดง แรงปฎิกิริยาที่จุด A เท่ากับ
- 1 : 10,000 กก.
- 2 : 6000 กก.
- 3 : 4000 กก.
- 4 : 2000 กก.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จากรูปที่แสดง โมเมนต์มากที่สุดในคานเท่ากับ
- 1 : 4000 กก.-ม.
- 2 : 8000 กก.-ม.
- 3 : 12000 กก.-ม.
- 4 : 20000 กก.-ม.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จากรูปที่แสดง แรงเฉือนมากที่สุดในคานเท่ากับ
- 1 : 32000 กก.
- 2 : 16000 กก.
- 3 : 8000 กก.
- 4 : 4000 กก.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จากรูปที่แสดง ภาพของโมเมนต์ดัดในคานช่วง AB มีรูปเป็น
- 1 : สี่เหลี่ยมผืนผ้า
- 2 : สามเหลี่ยม
- 3 : พาราโบลากำลังสอง
- 4 : พาราโบลากำลัง n
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จากโครง truss ที่แสดง โดยที่ต่างมีมุมเท่ากันหมด แรงลัพท์ของแรงปฎิกิริยาที่จุด A มีค่าประมาณเท่ากับ
- 1 : 40 กก.
- 2 : 53 กก.
- 3 : 67 กก.
- 4 : 75 กก.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จากโครง truss ที่แสดง โดยที่ต่างมีมุมเท่ากันหมด แรงภายในชิ้นส่วน BC เท่ากับ (โดยประมาณ)
- 1 : 17 กก.
- 2 : 37 กก.
- 3 : 53 กก.
- 4 : 74 กก.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จากโครง truss ที่แสดง โดยที่ต่างมีมุมเท่ากันหมด แรงภายในชิ้นส่วน EF เท่ากับ
- 1 : 10 กก.
- 2 : 20 กก.
- 3 : 30 กก.
- 4 : 40 กก.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จากโครง Truss ที่แสดง แรงภายในชิ้นส่วน HB เท่ากับ
- 1 : 0
- 2 : 2 ตัน (แรงอัด)
- 3 : 2 ตัน (แรงดึง)
- 4 : 4 ตัน (แรงอัด)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จากโครง Truss ที่แสดง แรงภายในชิ้นส่วน HC เท่ากับ
- 1 : 0
- 2 : 0.7 ตัน (แรงอัด)
- 3 : 0.7 ตัน (แรงดึง)
- 4 : 2.8 ตัน (แรงอัด)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จากโครง Truss ที่แสดง แรงปฏิกิริยาที่จุด A เท่ากับ
- 1 : 3.5 T
- 2 : 3.0 T
- 3 : 2.5 T
- 4 : 2.0 T
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จากโครงเฟรมที่แสดง แรงภายในตามแนวแกนของ CD เท่ากับ
- 1 : 0
- 2 : 2.5 ตัน (แรงอัด)
- 3 : 2.5 ตัน (แรงดึง)
- 4 : 5 ตัน (แรงอัด)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จากโครงเฟรมที่แสดง แรงเฉือนมากที่สุดใน BC เท่ากับ
- 1 : 3.5 T
- 2 : 5.5 T
- 3 : 6.8 T
- 4 : 7.8 T
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จากโครงเฟรมที่แสดง โมเมนต์ดัดชนิดบวก (positive moment) ที่มากที่สุดใน BC มีค่าเท่ากับ
- 1 : 5 ตัน-ม.
- 2 : 7.5 ตัน-ม.
- 3 : 12.5 ตัน-ม.
- 4 : 15.0 ตัน-ม.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- Determine the reactions at support e of the frame loaded as shown in figure below
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จงหาแรงภายในชิ้นส่วน BC ของโครงถักดังรูป
- 1 : BC = 4.33 kN (comp.)
- 2 : BC = 4.33 kN (tens.)
- 3 : BC = 0
- 4 : BC = 3 kN (tens.)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- คานช่วงเดี่ยวปลายยื่น รับน้ำหนักบรรทุก ดังรูป ตำแหน่งที่โมเมนต์ดัดมีค่ามากที่สุดจะอยู่ห่างจากจุด A เป็นระยะประมาณ
- 1 : 1.50 เมตร
- 2 : 2.00 เมตร
- 3 : 2.50 เมตร
- 4 : 3.00 เมตร
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- คานช่วงเดี่ยวปลายยื่น รับน้ำหนักบรรทุก ดังรูป จงประมาณค่าโมเมนต์ดัดที่มากที่สุด
- 1 : 2.20 ตัน-เมตร
- 2 : 2.50 ตัน-เมตร
- 3 : 2.90 ตัน-เมตร
- 4 : 3.10 ตัน-เมตร
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- เสา AB มีปลายทั้งสองข้างเป็นแบบยึดหมุน รับน้ำหนักบรรทุก ดังรูป จงหาค่าโมเมนต์ดัดที่จุด C
- 1 : 16.80 ตัน-เมตร
- 2 : 17.50 ตัน-เมตร
- 3 : 19.50 ตัน-เมตร
- 4 : 21.00 ตัน-เมตร
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- เสา AB มีปลายทั้งสองข้างเป็นแบบยึดหมุน รับน้ำหนักบรรทุก ดังรูป จงประมาณค่าแรงเฉือนที่จุด C ในช่วง CB
- 1 : 0.15 ตัน
- 2 : 5.30 ตัน
- 3 : 5.70 ตัน
- 4 : 7.80 ตัน
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- เสา AB มีปลายทั้งสองข้างเป็นแบบยึดหมุน รับน้ำหนักบรรทุก ดังรูป ตำแหน่งที่แรงเฉือนมีค่าเป็นศูนย์ คือ
- 1 : อยู่พอดีที่จุด C
- 2 : อยู่ในช่วง AC
- 3 : อยู่ในช่วง CB
- 4 : ไม่มีข้อใดถูก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- โครงเฟรม ABC รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุด ดังรูป โมเมนต์ดัดมากที่สุดบนคาน BC อยู่ที่
- 1 : จุด D จุดเดียว
- 2 : จุด E จุดเดียว
- 3 : จุด D และจุด E
- 4 : จุด B และจุด C
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- โครงเฟรม ABC รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุด ดังรูป จะเห็นว่า เสา AB รับแรงต่างๆ คือ
- 1 : แรงอัดตามแนวแกน แรงเฉือนและโมเมนต์ดัด
- 2 : แรงเฉือนอย่างเดียว
- 3 : โมเมนต์ดัดอย่างเดียว
- 4 : แรงอัดตามแนวแกนอย่างเดียว
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- โครงเฟรม ABC รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุด ดังรูป จะเห็นว่า เสา AB รับแรงต่างๆ คือ
- 1 : แรงอัดตามแนวแกน แรงเฉือนและโมเมนต์ดัด
- 2 : แรงเฉือนอย่างเดียว
- 3 : โมเมนต์ดัดอย่างเดียว
- 4 : แรงอัดตามแนวแกนอย่างเดียว
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- โครงเฟรม ABC รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุด ดังรูป โมเมนต์ดัดมากที่สุดบนคาน BC อยู่ที่
- 1 : จุด B จุดเดียว
- 2 : จุด D จุดเดียว
- 3 : จุด E จุดเดียว
- 4 : จุด B และจุด E
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- โครงเฟรม ABC รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุด ดังรูป ค่าโมเมนต์ดัดมากที่สุดบนคาน BC เท่ากับ
- 1 : PL
- 2 : 4PL/3
- 3 : 5PL/3
- 4 : 2PL
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- โครงเฟรม ABC รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุด ดังรูป จะเห็นว่า เสา AB รับแรงต่างๆ คือ
- 1 : แรงอัดตามแนวแกน แรงเฉือนและโมเมนต์ดัด
- 2 : แรงเฉือนอย่างเดียว
- 3 : โมเมนต์ดัดอย่างเดียว
- 4 : แรงอัดตามแนวแกนอย่างเดียว
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- คาน AB รับน้ำหนักบรรทุกแบบแผ่สม่ำเสมอตลอดความยาวคาน โดยมีท่อนเหล็กยึดไว้ตรงจุด B ดังรูป เพื่อให้คาน AB อยู่ในแนวนอน ถ้าไม่คิดน้ำหนักของคานและไม่คิดการยืดหดตัวของท่อนเหล็ก จงหาค่าแรงดึงในท่อนเหล็กนี้
- 1 : 5wL/6
- 2 : 5wL/4
- 3 : 5wL/3
- 4 : 5wL/2
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- คาน AB รับน้ำหนักบรรทุกแบบแผ่สม่ำเสมอตลอดความยาวคาน โดยมีท่อนเหล็กยึดไว้ตรงจุด B ดังรูป เพื่อให้คาน AB อยู่ในแนวนอน ถ้าไม่คิดน้ำหนักของคานและไม่คิดการยืดหดตัวของท่อนเหล็ก จงหาค่าแรงปฏิกิริยาที่จุด A
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- คาน AB รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุดและแบบแผ่สม่ำเสมอตลอดความยาวคาน โดยมีท่อนเหล็กยึดไว้ตรงจุด B ดังรูป เพื่อให้คาน AB อยู่ในแนวนอน ถ้าไม่คิดน้ำหนักของคานและไม่คิดการยืดหดตัวของท่อนเหล็ก จงหาค่าแรงดึงในท่อนเหล็กนี้
- 1 : 5wL/6
- 2 : 5wL/4
- 3 : 5wL/3
- 4 : 5wL/2
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- คาน AB รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุดและแบบแผ่สม่ำเสมอตลอดความยาวคาน โดยมีท่อนเหล็กยึดไว้ตรงจุด B ดังรูป เพื่อให้คาน AB อยู่ในแนวนอน ถ้าไม่คิดน้ำหนักของคานและไม่คิดการยืดหดตัวของท่อนเหล็ก จงหาค่าแรงปฏิกิริยาที่จุด A
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- คาน AB รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุดและแบบแผ่สม่ำเสมอตลอดความยาวคาน โดยมีท่อนเหล็กยึดไว้ตรงจุด B ดังรูป เพื่อให้คาน AB อยู่ในแนวนอน ถ้าไม่คิดน้ำหนักของคานและไม่คิดการยืดหดตัวของท่อนเหล็ก โมเมนต์ดัดที่กึ่งกลางคาน AB มีค่าเท่ากับ
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- โครงสร้างคานดังรูป กราฟโมเมนต์ดัดมีลักษณะตรงกับข้อใด
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- แรงที่กระทำต่อ Internal roller ที่จุด B มีค่าเท่าใด ?
- 1 : 2,000 kg.
- 2 : 4,000 kg.
- 3 : 6,000 kg.
- 4 : 8,000 kg.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- โครงสร้างดังรูป แรงปฏิกิริยาที่จุด B มีค่าเท่าใด?
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- โมเมนต์ดัดสูงสุด มีค่าเท่าใด ?
- 1 : 0.67 kN-m
- 2 : 1.69 kN-m
- 3 : 2.31 kN-m
- 4 : 3.08 kN-m
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- ค่าแรงเฉือนสูงสุด มีค่าเท่าใด ?
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- 5 : คำตอบข้อ 1-4 ไม่มีคำตอบที่ถูก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จากโครงสร้างคานดังรูป แผนภาพแรงเฉือน(Shear Force Diagram) เป็นไปตามตัวเลือกข้อใด ?
กำหนดให้ เมื่อตัดรูปตัดใด ๆ ทิศทางของแรงเฉือนที่เป็นบวก มีทิศตามเข็มนาฬิกา ทิศทางของโมเมนต์ที่เป็นบวก ดัดให้คานโก่งหงาย
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จากโครงสร้างคานดังรูป
แผนภาพโมเมนต์ดัด (Bending Moment Diagram) เป็นไปตามตัวเลือกข้อใด ?
กำหนดให้ เมื่อตัดรูปตัดใดๆ ทิศทางของแรงเฉือนที่เป็นบวก มีทิศตามเข็มนาฬิกา ทิศทางของโมเมนต์ที่เป็นบวก ดัดให้คานโก่งหงาย
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
จงคำนวณหาแรงเฉือนภายในของภาคตัดที่ผ่านระหว่างจุด B และ C ของคานที่มีแรงกระทำดังรูป
- 1 : 0 T
- 2 : 1 T
- 3 : 2 T
- 4 : 3 T
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
จงคำนวณหาแรงเฉือนภายในของภาคตัดที่ผ่านระหว่างจุด B และ C ของคานที่มีแรงกระทำดังรูป
- 1 : 0 T
- 2 : 1 T
- 3 : 2 T
- 4 : 3 T
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
จงคำนวณหาแรงเฉือนภายในของภาคตัดที่ผ่านระหว่างจุด B และ C ของคานที่มีแรงกระทำดังรูป
- 1 : 0 T
- 2 : 1 T
- 3 : 2 T
- 4 : 3 T
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
จงคำนวณหาแรงปฏิกิริยาที่จุด D ของคานดังแสดงในรูป
- 1 : 5 T
- 2 : 7 T
- 3 : 9 T
- 4 : 10 T
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
จงคำนวณหาแรงปฏิกิริยาที่จุด D ของคานดังแสดงในรูป
- 1 : 5 T
- 2 : 7 T
- 3 : 9 T
- 4 : 10 T
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- ข้อใดเป็นเส้นอิทธิพล (Influence line) ของแรงปฏิกิริยาที่ฐาน C ของโครงสร้างดังในรูป
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- ข้อใดแสดงแนวเส้นอิทธิพลของแรงปฏิกิริยาในแนวดิ่งที่จุด A ของคานดังแสดงในรูป
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- ข้อใดแสดงแนวเส้นอิทธิพลของโมเมนต์ดัดที่จุด B ของคานดังแสดงในรูป
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จงคำนวณหาโมเมนต์ดัดบวกที่มากที่สุดที่จุด C ของคานดังแสดงในรูป เมื่อมีน้ำหนักบรรทุกแบบจุดเท่ากับ 9 ตัน และน้ำหนักบรรทุกแบบตายตัว(Dead Load) ซึ่งเกิดจากน้ำหนักของคาน กระจายอย่างสม่ำเสมอมีขนาดเท่ากับ 2 ตัน/เมตร
- 1 : 12 T-m
- 2 : 18 T-m
- 3 : 36 T-m
- 4 : 30 T-m
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จงคำนวณหาโมเมนต์ดัดลบที่มากที่สุดที่จุด C ของคานดังแสดงในรูป เมื่อมีน้ำหนักบรรทุกแบบจุดเท่ากับ 9 ตัน น้ำหนักบรรทุกแบบตายตัว (Dead Load) และแบบจร (Live Load) กระจายอย่างสม่ำเสมอมีขนาดเท่ากับ 2 ตัน/เมตร และ 4 ตัน/เมตร ตามลำดับ (น้ำหนักบรรทุกจร 4 ตัน/เมตร จะกระจายเฉพาะช่วงที่จะทำให้โมเมนต์ดัดลบที่จุด C มีค่ามากที่สุด)
- 1 : -18 T-m
- 2 : -36 T-m
- 3 : -66 T-m
- 4 : -12 T-m
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จงใช้หลักการของอินฟลูเอนซ์ไลน์ในการคำนวณหาแรงเฉือนบวกที่มากที่สุดที่จุด C ของคานดังแสดงในรูป เมื่อมีน้ำหนักบรรทุกแบบจุดเท่ากับ 9 ตัน น้ำหนักบรรทุกแบบตายตัว (Dead Load) และแบบจร (Live Load) กระจายอย่างสม่ำเสมอมีขนาดเท่ากับ 2 ตัน/เมตร และ 4 ตัน/เมตร ตามลำดับ โดยน้ำหนักบรรทุกจร 4 ตัน/เมตร จะกระจายเฉพาะช่วงที่ทำให้แรงเฉือนบวกที่จุด C มีค่ามากที่สุด
- 1 : 4 T
- 2 : 6 T
- 3 : 10 T
- 4 : 20 T
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จงใช้หลักการของอินฟลูเอนซ์ไลน์ในการคำนวณหาแรงเฉือนลบที่มากที่สุดที่จุด C ของคานดังแสดงในรูป เมื่อมีน้ำหนักบรรทุกแบบจุดเท่ากับ 9 ตัน น้ำหนักบรรทุกแบบตายตัว (Dead Load) และแบบจร (Live Load) กระจายอย่างสม่ำเสมอมีขนาดเท่ากับ 2 ตัน/เมตร และ 4 ตัน/เมตร ตามลำดับ โดยน้ำหนักบรรทุกจร 4 ตัน/เมตร จะกระจายเฉพาะช่วงที่ทำให้แรงเฉือนลบที่จุด C มีค่ามากที่สุด
- 1 : -1 T
- 2 : -2 T
- 3 : -3 T
- 4 : -4 T
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- ข้อใดแสดงรูปของเส้นอิทธิพลของแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ A
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- ข้อใดแสดงรูปของเส้นอิทธิพลของแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ B
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- ข้อใดแสดงรูปของเส้นอิทธิพลของแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ C
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- ข้อใดแสดงรูปของเส้นอิทธิพลของแรงเฉือนที่จุด A
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- ข้อใดแสดงรูปของเส้นอิทธิพลของแรงเฉือนที่จุด B
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- ข้อใดแสดงรูปของเส้นอิทธิพลของโมเมนต์ที่จุด A
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- ข้อใดแสดงรูปของเส้นอิทธิพลของโมเมนต์ที่จุด A
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- ข้อใดแสดงแนวเส้นอิทธิพลของแรงปฏิกิริยาในแนวดิ่งที่จุด G ของคานดังแสดงในรูป
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- ค่าแรงปฏิกิริยาในแนวดิ่งสูงสุดที่จุด A ของโครงสร้างดังรูปเป็นอย่างไรภายใต้การเคลื่อนที่ของแรงกระทำแบบจุด 2 ค่าที่กำหนดบนโครงสร้าง
- 1 : 4 T ทิศขึ้น
- 2 : 4 T ทิศลง
- 3 : 8 T ทิศขึ้น
- 4 : 8 T ทิศลง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- ภายใต้การเคลื่อนที่ของแรงกระทำแบบจุด 2 ค่าที่ ดังแสดงในรูป กระทำต่อคานที่กำหนดให้ จงหาว่าแรงกระทำคู่นี้ต้องกระทำอยู่ในช่วงใดของคาน ซึ่งทำให้ค่าแรงปฏิกิริยาในแนวดิ่งที่จุด A มีค่าเป็นศูนย์
- 1 : เมื่อแรงทั้ง 2 ค่า กระทำในช่วง AC
- 2 : เมื่อแรงทั้ง 2 ค่า กระทำในช่วง AB
- 3 : เมื่อแรงทั้ง 2 ค่า กระทำในช่วง BD
- 4 : เมื่อแรงทั้ง 2 ค่า กระทำในช่วง DE
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- ค่าแรงเฉือนที่จุด B ของโครงสร้างดังรูปภายใต้การเคลื่อนที่ของแรงกระทำแบบจุด 2 ค่าที่กำหนดบนโครงสร้าง สามารถมีค่าเป็นศูนย์หรือไม่
- 1 : ไม่มี
- 2 : มี เมื่อแรงทั้ง 2 ค่า กระทำในช่วง AB
- 3 : มี เมื่อแรงทั้ง 2 ค่า กระทำในช่วง BD
- 4 : มี เมื่อแรงทั้ง 2 ค่า กระทำในช่วง DE
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- โมเมนต์ดัดในช่วง EF ของคานหลัก AB ในระบบพื้นดังรูปภายใต้การเคลื่อนที่ของแรงกระทำแบบจุด 8 T บนโครงสร้าง มีค่าสูงสุดเท่าไร
- 1 : 5.6 T
- 2 : 7.2 T
- 3 : 14 T-m
- 4 : 28 T-m
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- แรงภายในชิ้นส่วน A ของโครงข้อหมุนดังรูปภายใต้การเคลื่อนที่ของแรงกระทำแบบจุด 10 T บนโครงข้อหมุน มีค่าสูงสุดเป็นอย่างไร
- 1 : แรงดึง 5 T
- 2 : แรงอัด 5 T
- 3 : แรงดึง 10 T
- 4 : แรงอัด 10 T
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- แรงภายในชิ้นส่วน A ของโครงข้อหมุนดังรูปภายใต้การเคลื่อนที่ของแรงกระทำแบบจุด 10 T บนโครงข้อหมุน มีค่าสูงสุดเป็นอย่างไร
- 1 : แรงดึง 7.5 T
- 2 : แรงอัด 7.5 T
- 3 : แรงดึง 12.5 T
- 4 : แรงอัด 12.5 T
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จงคำนวณหาขนาดและทิศทางของแรงปฏิกริยา (Reaction force) RA ของฐานรองรับ A เมื่อน้ำหนักหนึ่งหน่วยเคลื่อนที่อยู่ที่จุด B ของคานยื่น (Cantilever beam) ABC ดังแสดงในรูป
- 1 : RA=0, ทิศทางชี้ขึ้น
- 2 : RA=0.5, ทิศทางชี้ขึ้น
- 3 : RA=0.5, ทิศทางชี้ลง
- 4 : RA=1.0, ทิศทางชี้ขึ้น
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จงคำนวณหาขนาดและทิศทางของโมเมนต์ปฏิกริยา (Reaction moment) MA ของฐานรองรับ A เมื่อน้ำหนักหนึ่งหน่วยเคลื่อนที่อยู่ที่จุด B ของคานยื่น (Cantilever beam) ABC ดังแสดงในรูป
- 1 : MA=3, ทิศทางตามเข็มนาฬิกา
- 2 : MA=3, ทิศทางทวนเข็มนาฬิกา
- 3 : MA=4, ทิศทางตามเข็มนาฬิกา
- 4 : MA=4, ทิศทางทวนเข็มนาฬิกา
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จงคำนวณหาขนาดของแรงเฉือน (Shear force) VB ที่จุด B เมื่อน้ำหนักหนึ่งหน่วยเคลื่อนที่อยู่ที่จุด C ของคานยื่น (Cantilever beam) ABC ดังแสดงในรูป
- 1 : VB=0
- 2 : VB=0.5
- 3 : VB=1.0
- 4 : VB=1.5
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จงคำนวณหาค่าของโมเมนต์ภายใน (moment) MB ที่จุด B เมื่อน้ำหนักหนึ่งหน่วยเคลื่อนที่อยู่ที่จุด C ของคานยื่น (Cantilever beam) ABC ดังแสดงในรูป
- 1 : MB=-4
- 2 : MB=-5
- 3 : MB=-6
- 4 : MB=-7
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จงคำนวณหาขนาดและทิศทางของแรงปฏิกริยา (Reaction force) RA ของฐานรองรับ A เมื่อน้ำหนักหนึ่งหน่วยเคลื่อนที่อยู่ที่จุด B ของโครงข้อหมุน (Truss) ดังแสดงในรูป
- 1 : RA=1.0 ทิศทางขึ้น
- 2 : RA=0.75 ทิศทางขึ้น
- 3 : RA=0.50 ทิศทางลง
- 4 : RA=0.25 ทิศทางลง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จงคำนวณหาขนาดและทิศทางของแรงปฏิกริยา (Reaction force) RE ของฐานรองรับ E เมื่อน้ำหนักหนึ่งหน่วยเคลื่อนที่อยู่ที่จุด C ของโครงข้อหมุน (Truss) ดังแสดงในรูป
- 1 : RE=0
- 2 : RE=0.25 ทิศทางขึ้น
- 3 : RE=0.5 ทิศทางขึ้น
- 4 : RE=0.75 ทิศทางลง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จงคำนวณหาขนาดและประเภทของแรงตามแนวแกน (Axial force) ของชิ้นส่วน GB เมื่อน้ำหนักหนึ่งหน่วยเคลื่อนที่อยู่ที่จุด B ของโครงข้อหมุน (Truss) ดังแสดงในรูป
- 1 : FGB=0
- 2 : FGB=0.354 เป็นแรงอัด
- 3 : FGB=0.707 เป็นแรงอัด
- 4 : FGB=0.354 เป็นแรงดึง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จงคำนวณหาขนาดและประเภทของแรงตามแนวแกน (Axial force) ของชิ้นส่วน CG เมื่อน้ำหนักหนึ่งหน่วยเคลื่อนที่อยู่ที่จุด C ของโครงข้อหมุน (Truss) ดังแสดงในรูป
- 1 : FCG=1 เป็นแรงดึง
- 2 : FCG=1 เป็นแรงอัด
- 3 : FCG=0.5 เป็นแรงดึง
- 4 : FCG=0.5 เป็นแรงอัด
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- พิจารณาโครงสร้างและเส้นอิทธิพล (Influence line) ดังในรูป คำตอบข้อใดเป็นจริง
- 1 : เส้นอิทธิพลทั้งสองเส้นไม่ถูกต้อง
- 2 : เส้นอิทธิพลทั้งสองเส้นถูกต้อง
- 3 : เส้นอิทธิพลของแรงเฉือนที่ด้านขวาของฐาน C เท่านั้นที่ถูกต้อง
- 4 : เส้นอิทธิพลของโมเมนต์ดัดในคานที่จุด C เท่านั้นที่ถูกต้อง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- ข้อใดเป็นเส้นอิทธิพล (Influence line) ของแรงปฏิกิริยาที่ฐาน E ของโครงสร้างดังในรูป
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- ข้อใดเป็นเส้นอิทธิพล (Influence line) ของโมเมนต์ดัดที่จุด C ของโครงสร้างดังในรูป
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- พิจารณาโครงสร้างและเส้นอิทธิพล (Influence line) ในรูปที่ 1 และ 2 แล้วหาว่าคำตอบข้อใดเป็นจริง
- 1 : รูปที่ 1 เท่านั้นที่เป็นเส้นอิทธิพลของแรงเฉือนที่จุด B
- 2 : รูปที่ 2 เท่านั้นที่เป็นเส้นอิทธิพลของแรงเฉือนที่จุด B
- 3 : รูปที่ 1 และ 2 เป็นเส้นอิทธิพลของแรงเฉือนที่จุด B
- 4 : ไม่มีรูปใดเป็นเส้นอิทธิพลของแรงเฉือนที่จุด B
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- รถบรรทุกหกล้อคันหนึ่งมีน้ำหนักลงล้อหน้า 20 kN และล้อหลัง 80 kN ดังในรูป วิ่งผ่านคานสะพานยาว 20 m
ให้คำนวณหาค่าโมเมนต์ที่มากที่สุด ที่จะเกิดขึ้นได้ที่จุด B
(*** รถจะอยู่ตำแหน่งใดก็ได้บนสะพาน และหันหน้ารถไปทางซ้ายหรือขวาก็ได้)
- 1 : 295 kN-m
- 2 : 355 kN-m
- 3 : 460 kN-m
- 4 : 500 kN-m
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- คำตอบข้อใดคือเส้นอิทธิพลของแรงในชิ้นส่วน CD (แสดงเป็นชิ้นส่วนสีแดง) ของโครงข้อหมุนดังในรูป
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- คำตอบข้อใดคือเส้นอิทธิพลของแรงในชิ้นส่วน DK (แสดงเป็นชิ้นส่วนสีแดง) ของโครงข้อหมุนดังในรูป
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จงเขียนสมการแสดงอินฟลูเอนซไลน์ของแรงปฏิกริยาที่ฐานรองรับ A
- 1 : I.L.(RA) = x/L - 1
- 2 : I.L.(RA) = 1
- 3 : I.L.(RA) = x/L
- 4 : I.L.(RA) = 1 - x/L
- 5 : I.L.(RA) = L - 1/x
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จงเขียนสมการแสดงอินฟลูเอนซไลน์ของแรงปฏิกริยาที่ฐานรองรับB
- 1 : I.L. (RB) = 1
- 2 : I.L. (RB) = 1 - x/L
- 3 : I.L. (RB) = x/L
- 4 : I.L. (RB) = x/L - 1
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จงเขียนสมการแสดงอินฟลูเอนซไลน์ของแรงเฉือนที่จุดC เมื่อน้ำหนักบรรทุกจรเคลื่อนที่อยู่ในช่วงAC
- 1 : I.L. (Vc) = -x/L
- 2 : I.L. (Vc) = 1 - x/L
- 3 : I.L. (Vc) = x/L - 1
- 4 : I.L. (Vc) = x/L
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จงเขียนสมการแสดงอินฟลูเอนซไลน์ของแรงเฉือนที่จุดC เมื่อน้ำหนักบรรทุกจรเคลื่อนที่อยู่ในช่วงCB
- 1 : I.L.(Vc) = -x/L
- 2 : I.L.(Vc) = 1 - x/L
- 3 : I.L.(Vc) = x/L
- 4 : I.L.(Vc) = x/L - 1
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จงเขียนสมการแสดงอินฟลูเอนซไลน์ของโมเมนต์ดัดที่จุดC เมื่อน้ำหนักบรรทุกจรเคลื่อนที่อยู่ในช่วงAC
- 1 : I.L.(Mc) = L - xa/L
- 2 : I.L.(Mc) = xb/L
- 3 : I.L.(Mc) = xa/L
- 4 : I.L.(Mc) = L - xb/L
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จงเขียนสมการแสดงอินฟลูเอนซไลน์ของโมเมนต์ดัดที่จุดC เมื่อน้ำหนักบรรทุกจรเคลื่อนที่อยู่ในช่วงCB
- 1 : I.L.(Mc) = (1-x/L)b
- 2 : I.L.(Mc) = (x/L)b
- 3 : I.L.(Mc) = (1-x/L)a
- 4 : I.L.(Mc) = (-x/L)b
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จากรูป ค่าของอินฟลูเอ็นซ์ไลน์ MC มีค่าเท่าใด
- 1 : 10 kip-ft
- 2 : 20 kip-ft
- 3 : 30 kip-ft
- 4 : 40 kip-ft
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จากหลักการของ Muller Breslaus รูปใดคืออินฟลูเอ็นซ์ไลน์ของโมเมนต์ ณ จุดกึ่งกลาง B-C
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- คานที่มีน้ำหนักหนึ่งหน่วยเคลื่อนที่ดังรูป
ข้อใดคือ INFLUENCE LINES ของแรงปฏิกิริยาที่จุด A
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- คานที่มีน้ำหนักหนึ่งหน่วยเคลื่อนที่ดังรูป
ข้อใดคือ INFLUENCE LINES ของแรงปฏิกิริยาที่จุด B
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- คานที่มีน้ำหนักหนึ่งหน่วยเคลื่อนที่ดังรูป
- 1 : A
- 2 : B
- 3 : C
- 4 : D
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- คานที่มีน้ำหนักหนึ่งหน่วยเคลื่อนที่ดังรูป ความยาวคานมีหน่วยเป็นเมตร
- 1 : 1.25 ตัน.เมตร
- 2 : 25 ตัน.เมตร
- 3 : -1 ตัน.เมตร
- 4 : -20 ตัน.เมตร
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- คานที่มีน้ำหนักหนึ่งหน่วยเคลื่อนที่ดังรูป ความยาวคานมีหน่วยเป็นเมตร
- 1 : A ถึง B
- 2 : B ถึง D
- 3 : D ถึง E
- 4 : A ถึง E
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- คานที่มีน้ำหนักหนึ่งหน่วยเคลื่อนที่ดังรูป
- 1 : 4 ตัน
- 2 : 0
- 3 : 10 ตัน
- 4 : 28 ตัน
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- คานที่มีน้ำหนักหนึ่งหน่วยเคลื่อนที่ดังรูป ความยาวคานมีหน่วยเป็นเมตร
- 1 : -5 ตัน
- 2 : 12 ตัน
- 3 : 24 ตัน
- 4 : 28 ตัน
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จากภาพ influence line ของ reaction ที่จุด B ของคานที่กำหนดให้ หากมี น้ำหนักบรรทุก 13 ton วิ่งผ่านคานดังแสดงในรูป จงหาค่าสูงสุดของ reaction ที่จุด B พร้อมระบุตำแหน่งที่น้ำหนักบรรทุกนี้กระทำ
- 1 : ค่าสูงสุด คือ 17.33 ton น้ำหนักบรรทุกอยู่ที่จุด B
- 2 : ค่าสูงสุด คือ 17.33 ton น้ำหนักบรรทุกอยู่ที่จุด C
- 3 : ค่าสูงสุด คือ 21.67 ton น้ำหนักบรรทุกอยู่ที่จุด B
- 4 : ค่าสูงสุด คือ 21.67 ton น้ำหนักบรรทุกอยู่ที่จุด C
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จากคานที่กำหนดให้ดังรูป ภาพ influence line ต่อไปนี้ คำตอบใดผิด
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จงคำนวณหาค่าการโก่งตัว (Deflection) ที่ปลายอิสระ (จุด A) ของคานยื่นที่มีความยาว 2.00 เมตร รับน้ำหนักกระทำเป็นจุด ขนาด 6 T มีค่าโมเมนต์ อินเนอร์เชีย 5000 ซม.^4 และค่าโมดูลัสของการยืดหยุ่นเป็น 2000 ตันต่อตารางเซนติเมตร
- 1 : 0.2 cm
- 2 : 0.8 cm
- 3 : 1.0 cm
- 4 : 1.6 cm
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- ข้อใดเป็นคำตอบที่ถูกต้องของค่าการโก่งตัวในแนวดิ่งที่จุด A
พิจารณางานเนื่องจากแรงดัดเท่านั้น (ทิศทางลงเป็นบวก และขึ้นเป็นลบ)
- 1 : 200/EI m.
- 2 : 400/EI m.
- 3 : 800/EI m.
- 4 : 1600/EI m.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- ข้อใดเป็นคำตอบที่ถูกต้องของค่าการหมุนที่จุด A
พิจารณางานเนื่องจากแรงดัดเท่านั้น (ทิศทางทวนเข็มเป็นบวก และตามเข็มเป็นลบ)
- 1 : 800/3EI
- 2 : 1000/3EI
- 3 : 1400/3EI
- 4 : 1600/3EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- ข้อใดเป็นคำตอบที่ถูกต้องของค่าการโก่งตัว (deflection) ในแนวดิ่งที่จุด B
พิจารณางานเนื่องจากแรงดัดเท่านั้น (ทิศทางลงเป็นบวก และขึ้นเป็นลบ)
- 1 : 0 m.
- 2 : 50/EI m.
- 3 : 100/EI m.
- 4 : 150/EI m.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จงคำนวณหาขนาดและทิศทางของการแอ่นตัวในแนวดิ่ง ของจุด A ของคาน ABC ดังแสดงในรูป E=207x10^3 MPa, I=10^-4 m
- 1 : 0.643 m ทิศขึ้น
- 2 : 0.643 m ทิศลง
- 3 : 0.321 m ทิศขึ้น
- 4 : 0.321 m ทิศลง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จงคำนวณหาขนาดและทิศทางของการหมุน (rotation) ของจุด A ของคาน ABC ดังแสดงในรูป E=207x10^3 MPa, I=10^-4 m
- 1 : 0.643 rad ทวนเข็มนาฬิกา
- 2 : 0.643 rad ตามเข็มนาฬิกา
- 3 : 0.321 rad ทวนเข็มนาฬิกา
- 4 : 0.321 rad ตามเข็มนาฬิกา
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- 1 : 0.01 rad ทิศทวนเข็มนาฬิกา
- 2 : 0.01 rad ทิศตามเข็มนาฬิกา
- 3 : 0.02 rad ทิศทวนเข็มนาฬิกา
- 4 : 0.02 rad ทิศตามเข็มนาฬิกา
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จงคำนวณระยะโก่ง (vertical deflection) ที่ปลายอิสระของคานที่กำหนด
- 1 : 125/EI
- 2 : 127.5/EI
- 3 : 120/EI
- 4 : 100/EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จงคำนวณหามุมลาดเอียง (slope) ที่ปลายอิสระของคานที่กำหนด
- 1 : 125/EI-clockwise
- 2 : 125/EI-couterclockwise
- 3 : 50/EI-clockwise
- 4 : 50/EI-counterclockwise
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จงคำนวณระยะเคลื่อนที่ในแนวนอน (horizontal deflection) ของจุดCของโครงข้อแข็งที่กำหนด
- 1 : 640/3EIไปทางขวา
- 2 : 620/3EIไปทางขวา
- 3 : 610/3EIไปทางขวา
- 4 : 320/3EIไปทางขวา
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จงคำนวณระยะเคลื่อนที่ในแนวนอน (horizontal deflection) ของจุดBของโครงข้อแข็งที่กำหนด
- 1 : 320/3EIไปทางขวา
- 2 : 310/3EIไปทางขวา
- 3 : 640/3EIไปทางขวา
- 4 : 620/3EIไปทางขวา
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- โครงข้อหมุนรับแรงกระทำดังในรูป ก. ให้หาค่าการเคลื่อนที่ในแนวราบที่จุด A
[ตัวหนังสือสีแดงในรูป ก. รูป ข. และรูป ค. คือค่าแรงตามแนวแกนในแต่ละชิ้นส่วน
เมื่อมีแรงลักษณะต่างๆ (สีน้ำเงิน) มากระทำ]
- 1 : (S1 U1 + S2 U2 + S3 U3 + S4 U4 + S5 U5) / (EA)
- 2 : (5.0 S1 U1 + 5.0 S2 U2 + 6.4 S3 U3 + 6.4 S4 U4 + 2.0 S5 U5) / (EA)
- 3 : (S1 W1 + S2 W2 + S3 W3 + S4 W4 + S5 W5) / (EA)
- 4 : (5.0 S1 W1 + 5.0 S2 W2 + 6.4 S3 W3 + 6.4 S4 W4 + 2.0 S5 W5) / (EA)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- โครงข้อหมุนรับแรงกระทำดังในรูป ก. ให้หาค่าการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งที่จุด D
- 1 : (5.0 S1 U1 + 5.0 S2 U2 + 6.4 S3 U3 + 6.4 S4 U4 + 2.0 S5 U5) / (EA)
- 2 : 60 (5.0 U1 U1 + 5.0 U2 U2 + 6.4 U3 U3 + 6.4 U4 U4 + 2.0 U5 U5) / (EA)
- 3 : (5.0 S1 W1 + 5.0 S2 W2 + 6.4 S3 W3 + 6.4 S4 W4 + 2.0 S5 W5) / (EA)
- 4 : 60 (5.0 S1 S1 + 5.0 S2 S2 + 6.4 S3 S3 + 6.4 S4 S4 + 2.0 S5 S5) / (EA)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จงหาค่า Deflection ที่จุด C เมื่อมีแรง 10 kN กระทำ ตามรูปด้านล่าง
- 1 : 240 / EI
- 2 : 320 / EI
- 3 : 640 / EI
- 4 : 6400 / EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- Determine the vertical displacement at point C of the truss in figure below.
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- คานยื่นรับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่ามุมลาดเอียงที่จุด B
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- คานยื่นรับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่าการโก่งตัวที่จุด B
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- คานยื่นรับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่ามุมลาดเอียงที่จุด B
- 1 : 2PL^2/9EI
- 2 : 5PL^2/16EI
- 3 : PL^2/2EI
- 4 : PL^2/EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- คานยื่นรับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่าการโก่งตัวที่จุด B
- 1 : 3PL^3/16EI
- 2 : 14PL^3/81EI
- 3 : PL^3/EI
- 4 : PL^3/6EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- คานช่วงเดี่ยวธรรมดารับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่ามุมลาดเอียงที่จุด B
- 1 : PL^2/4EI
- 2 : PL^2/3EI
- 3 : PL^2/2EI
- 4 : PL^2/EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- คานช่วงเดี่ยวธรรมดารับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่าการโก่งตัวที่กึ่งกลางคาน
- 1 : PL^3/EI
- 2 : PL^3/3EI
- 3 : PL^3/4EI
- 4 : PL^3/6EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- โครงสร้างข้อแข็ง รับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่ามุมลาดเอียงที่จุด B
- 1 : ML/EI
- 2 : ML/2EI
- 3 : 2ML/EI
- 4 : ML/2EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- โครงสร้างข้อแข็ง รับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่าการโก่งตัวในแนวดิ่งที่จุด C
- 1 : ML^2/EI
- 2 : ML^2/2EI
- 3 : ML^2/4EI
- 4 : 3ML^2/4EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- โครงข้อแข็งรับน้ำหนัก ดังรูป ถ้าสมมติว่าชิ้นส่วนไม่ยืดหรือหดตัว(No axial deformation) ให้เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด
- 1 : จุด B และจุด C มีระยะเคลื่อนที่ในแนวระดับเท่ากัน
- 2 : จุด A และจุด D ไม่มีการทรุดตัวและไม่เคลื่อนที่ในแนวระดับ
- 3 : จุด B มีการทรุดตัวเท่ากับจุด C
- 4 : จุด B ไม่มีการเคลื่อนตัวในแนวระดับ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- โครงข้อแข็งรับน้ำหนัก ดังรูป ถ้าสมมติว่าชิ้นส่วนไม่ยืดหรือหดตัว ให้เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด
- 1 : จุด B และจุด C มีระยะเคลื่อนที่ในแนวระดับเท่ากัน
- 2 : จุด A ไม่มีการหมุนและเลื่อนตัวในแนวดิ่ง
- 3 : จุด A ไม่มีการทรุดตัวและไม่เคลื่อนที่ในแนวระดับ ส่วนจุด D ไม่มีการทรุดตัวแต่เคลื่อนที่ในแนวระดับได้
- 4 : จุด D ไม่มีการเลื่อนตัวในแนวดิ่งและไม่มีการหมุน
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- โครงข้อแข็งรับน้ำหนัก ดังรูป ถ้าสมมติว่าชิ้นส่วนไม่ยืดหรือหดตัว ให้เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด
- 1 : จุด B และจุด C ไม่มีการเคลื่อนที่ในแนวระดับ
- 2 : จุด A ไม่มีการทรุดตัวและไม่เคลื่อนที่ในแนวระดับแต่มีการหมุน
- 3 : จุด C ไม่มีการหมุน
- 4 : จุด B ไม่มีการหมุน
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- โครงข้อแข็งรับน้ำหนัก ดังรูป ถ้าสมมติว่าชิ้นส่วนไม่ยืดหรือหดตัว ให้เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด
- 1 : จุด B และจุด C มีระยะเคลื่อนที่ในแนวระดับเท่ากัน
- 2 : จุด A และจุด D มีการทรุดตัวและไม่เคลื่อนที่ในแนวระดับ
- 3 : จุด B มีเฉพาะการเคลื่อนตัวในแนวราบ
- 4 : จุด B มีเฉพาะการเคลื่อนตัวในแนวดิ่ง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- โครงข้อแข็งรับน้ำหนัก ดังรูป ถ้าสมมติว่าชิ้นส่วนไม่ยืดหรือหดตัว ให้เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด
- 1 : จุด B และจุด C มีการเคลื่อนที่ในแนวระดับเท่ากัน
- 2 : จุด A ไม่มีการทรุดตัวและไม่เคลื่อนที่ในแนวระดับและไม่มีการหมุน
- 3 : จุด B และ C มีการเคลื่อนตัวในแนวระดับที่ไม่เท่ากัน
- 4 : จุด B มีการทรุดตัวในแนวดิ่ง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- โครงข้อแข็งรับน้ำหนัก ดังรูป ถ้าสมมติว่าชิ้นส่วนไม่ยืดหรือหดตัว ให้เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด
- 1 : จุด B และจุด C มีระยะเคลื่อนที่ในแนวระดับเท่ากันโดยไม่คิดผลจากมุมหมุนของจุด A
- 2 : จุด B และจุด C มีระยะเคลื่อนที่ในแนวระดับเท่ากันโดยมีผลจากมุมหมุนของจุด A
- 3 : จุด A ไม่มีการทรุดตัวและไม่เคลื่อนที่ในแนวระดับ
- 4 : รวมคำตอบข้อ (ข) และ ข้อ (ค) โดยมีมุมหมุนที่จุด A B และ C ตามลำดับ
- 5 : รวมคำตอบข้อ (ก) และ ข้อ (ค) โดยมีมุมหมุนที่จุด A B และ C ตามลำดับ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- การวิเคราะห์หาการโก่งตัวของโครงสร้างโดยวิธี moment-area หรือวิธี conjugate-beam พิจารณาจากผลของ
- 1 : แรงตามแนวแกนอย่างเดียว
- 2 : แรงเฉือนอย่างเดียว
- 3 : โมเมนต์ดัดอย่างเดียว
- 4 : โมเมนต์และแรงเฉือน
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- การวิเคราะห์หาการโก่งตัวของโครงสร้างโดยวิธี Energy เช่นวิธี virtual work สามารถพิจารณาได้จากผลของ
- 1 : แรงตามแนวแกนอย่างเดียว
- 2 : แรงเฉือนอย่างเดียว
- 3 : โมเมนต์ดัดอย่างเดียว
- 4 : แรงตามแนวแกน, แรงเฉือน, และโมเมนต์ดัด
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จงหาระยะการแอ่นตัวที่เกิดขึ้นสูงสุด ณ จุด B (EI = constance)
- 1 : มีค่า 2466/EI หน่วย
- 2 : มีค่า 4266/EI หน่วย
- 3 : มีค่า 6246/EI หน่วย
- 4 : มีค่า 6624/EI หน่วย
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จงหาค่า Slope ณ จุด B ในโครงสร้าง เมื่อ EI = ค่าคงที่
- 1 : มีค่า 1006/EI เรเดียน
- 2 : มีค่า 1060/EI เรเดียน
- 3 : มีค่า 1600/EI เรเดียน
- 4 : มีค่า 6100/EI เรเดียน
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- โครงสร้างดังรูป มีค่าความชัน (slope) ที่จุด A เท่ากับเท่าใด?
- 1 : 0
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- โครงสร้างดังรูป มีค่าการโก่งตัวสูงสุด (Maximum Deflection) เท่ากับเท่าใด?
- 1 : 0
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
จงหาค่าการโก่งตัวมากที่สุดของคาน AB ซึ่งมีหน้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่
- 1 : 4PL3/3EI
- 2 : 3PL3/4EI
- 3 : 9PL3/5EI
- 4 : 5PL3/9EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
จงหาค่าการโก่งตัวมากที่สุดของคาน AB ซึ่งมีหน้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 3I และค่า E คงที่
- 1 : 5PL3/9EI
- 2 : 4PL3/3EI
- 3 : 3PL3/4EI
- 4 : 9PL3/5EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
จงหาค่าการโก่งตัวมากที่สุดของคาน AB ซึ่งมีหน้าตัดไม่คงที่ รับโมเมนต์ดัด M ที่จุดรองรับทั้งสอง ดังรูป ซึ่งทำให้คานโก่งทางเดียว กำหนดให้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่
- 1 : 5ML2/8EI
- 2 : 5ML2/4EI
- 3 : 2ML2/2EI
- 4 : 2ML2/EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
จงหาค่าการโก่งตัวมากที่สุดของคาน AB ซึ่งมีหน้าตัดไม่คงที่ รับโมเมนต์ดัด M ที่จุดรองรับทั้งสอง ดังรูป ซึ่งทำให้คานโก่งทางเดียว กำหนดให้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 3I และค่า E คงที่
- 1 : 5ML2/8EI
- 2 : 5ML2/4EI
- 3 : 2ML2/2EI
- 4 : 2ML2/EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
จงหาค่าการโก่งตัวมากที่สุดของคาน AB ซึ่งมีหน้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่
- 1 : 5PL3/6EI
- 2 : 11PL3/6EI
- 3 : 13PL3/12EI
- 4 : 19PL3/12EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
จงหาค่าการโก่งตัวมากที่สุดของคาน AB ซึ่งมีหน้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่
- 1 : 5PL3/6EI
- 2 : 11PL3/6EI
- 3 : 13PL3/12EI
- 4 : 19PL3/12EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
จงหาค่าการโก่งตัวมากที่สุดของคาน AB ซึ่งมีหน้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให้ ระยะ Li = L/2, I1 = I, I2 = 3I และค่า E คงที่
- 1 : 25PL3/18EI
- 2 : 25PL3/36EI
- 3 : 25PL3/72EI
- 4 : 25PL3/144EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
จงหาค่าการโก่งตัวมากที่สุดของคาน AB ซึ่งมีหน้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่
- 1 : 11PL3/18EI
- 2 : 11PL3/9EI
- 3 : 5PL3/4EI
- 4 : 4PL3/3EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
จงหาค่าการโก่งตัวมากที่สุดของคาน AB ซึ่งมีหน้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 3I และค่า E คงที่
- 1 : 11PL3/18EI
- 2 : 11PL3/9EI
- 3 : 11PL3/6EI
- 4 : 11PL3/3EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
จงหาค่าการโก่งตัวมากที่สุดของคาน AB ซึ่งมีหน้าตัดไม่คงที่ รับโมเมนต์ดัด M ที่จุดรองรับทั้งสอง ดังรูป ซึ่งทำให้คานโก่งทางเดียว กำหนดให้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่
- 1 : 7ML2/8EI
- 2 : 7ML2/4EI
- 3 : 7ML2/2EI
- 4 : 7ML2/EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
จงหาค่าการโก่งตัวมากที่สุดของคาน AB ซึ่งมีหน้าตัดไม่คงที่ รับโมเมนต์ดัด M ที่จุดรองรับทั้งสอง ดังรูป ซึ่งทำให้คานโก่งทางเดียว กำหนดให้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 3I และค่า E คงที่
- 1 : 5ML2/8EI
- 2 : 5ML2/4EI
- 3 : 5ML2/3EI
- 4 : 5ML2/EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
จงหาค่ามุมลาดเอียงที่จุด A ของคาน AB ซึ่งมีหน้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให้ ระยะ Li = L/2, I1 = I, I2 = 3I และค่า E คงที่
- 1 : 7PL2/24EI
- 2 : 7PL2/12EI
- 3 : 7PL2/6EI
- 4 : 7PL2/4EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
จงหาค่าการโก่งตัวมากที่สุดของคาน AB ซึ่งมีหน้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่
- 1 : 11PL3/6EI
- 2 : 11PL3/9EI
- 3 : 11PL3/10EI
- 4 : 11PL3/12EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
จงหาค่าการโก่งตัวมากที่สุดของคาน AB ซึ่งมีหน้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 3I และค่า E คงที่
- 1 : 11PL3/18EI
- 2 : 21PL3/18EI
- 3 : 31PL3/18EI
- 4 : 41PL3/18EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
จงหาค่าการโก่งตัวมากที่สุดของคาน AB ซึ่งมีหน้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่
- 1 : 3PL3/4EI
- 2 : 11PL3/6EI
- 3 : 11PL3/9EI
- 4 : 25PL3/6EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
จงประมาณค่าการโก่งตัวมากที่สุดของคาน AB ซึ่งมีหน้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 3I และค่า E คงที่
- 1 : 2PL3/EI
- 2 : 3PL3/EI
- 3 : 4PL3/EI
- 4 : 5PL3/EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จงคำนวณหาแรงปฏิกิริยาในแนวดิ่งที่ปลาย A ของคานดังแสดงในรูป
- 1 : (1/4)wL
- 2 : (3/4)wL
- 3 : (3/8)wL
- 4 : (5/8)wL
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จงหาค่าแรงในแนวดิ่งที่ฐาน B (Rb) ของโครงสร้างดังในรูป
- คาน ABC มีค่า Modulus of Elasticity = E และ Moment of Inertia = I
- 1 : 28.5 kN
- 2 : -28.5 kN
- 3 : 87.5 kN
- 4 : -87.5 kN
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จงคำนวณหาแรงปฏิกริยาของฐานรองรับที่จุด b ของคานที่กำหนด
- 1 : Rb = 5F/16
- 2 : Rb = 11F/16
- 3 : Rb = 7F/16
- 4 : Rb = F/4
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จงคำนวณหา Reaction และ Fixed-end moment ที่ฐานรองรับ a ของคานที่กำหนด
- 1 : Ra = 11F/16 , Ma = 3FL/16 clockwise
- 2 : Ra = 5F/16 , Ma = 3FL/16 clockwise
- 3 : Ra = 11F/16 , Ma = 3FL/16 counterclockwise
- 4 : Ra = 5F/16 , Ma = 3FL/16 counterclockwise
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จงคำนวณแรงปฏิกริยาที่ฐานรองรับทั้งหมดของคานที่กำหนด
- 1 : Ra = 5F/16; Rb = 11F/16; Ma = 3FL/16 clockwise
- 2 : Ra = 11F/16; Rb = 5F/16; Ma = 3FL/16 clockwise
- 3 : Ra = 11F/16; Rb = 5F/16; Ma = 3FL/16 counterclockwise
- 4 : Ra = 5F/16; Rb = 11F/16; Ma = 3FL/16 counterclockwise
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จงคำนวณ Reaction และ Fixed-end moment ของฐานรองรับที่จุด a ของคานในรูป เมื่อกำหนดให้ F = wL/2
- 1 : Ra = F/5; Ma = 2FL/15 clockwise
- 2 : Ra = 4F/5; Ma = FL/15 counterclockwise
- 3 : Ra = 4F/5; Ma = 2FL/15 clockwise
- 4 : Ra = 4F/5; Ma = 2FL/15 counterclockwise
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จงคำนวณหาแรงปฏิกริยาของฐานรองรับที่จุด b ของคานในรูป กำหนดให้ F = wL/2
- 1 : Rb = 3F/5
- 2 : Rb = 4F/5
- 3 : Rb = F/5
- 4 : Rb = 2F/5
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จงคำนวณ Reaction และ Fixed-end moment ที่ฐานรองรับทั้งหมดของคานในรูป กำหนดให้ F = wL/2
- 1 : Ra = F/5; Rb = 4F/5; Ma = 2FL/15 clockwise
- 2 : Ra = 4F/5; Rb = F/5; Ma = 2FL/15 clockwise
- 3 : Ra = 4F/5; Rb = F/5; Ma = 2FL/15 counterclockwise
- 4 : Ra = F/5; Rb = 4F/5; Ma = 2FL/15 counterclockwise
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จากโครงสร้างที่แสดง หากยังไม่มีท่อนเหล็ก BD มายึดไว้ ระยะโก่งตัว (โดยประมาณ) ที่จุด D เท่ากับ
- 1 : 10.5/EI
- 2 : 12.5/EI
- 3 : 14.5/EI
- 4 : 15.5/EI
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จากโครงสร้างที่แสดง โดยมีท่อนเหล็ก BD มายึดไว้ เพื่อให้ระยะโก่งตัวที่จุด D เป็นศูนย์ ให้หาค่าแรงดึงโดยประมาณในท่อนเหล็ก BD (โดยคำนึงถึงการยืดตัวของท่อนเหล็กที่ช่วยยึด)
- 1 : 3.0 ตัน
- 2 : 4.0 ตัน
- 3 : 5.0 ตัน
- 4 : 6.0 ตัน
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- เมื่อกำหนดให้โมเมนต์ที่ปลายชิ้นส่วน (end moment) ที่หมุนตามเข็มนาฬิกามีค่าเป็นบวก จงคำนวณหาค่าโมเมนต์ดัดที่ปลาย A ของชิ้นส่วน AB: MAB มีค่าเท่ากับ
- 1 : 6 ตัน-ม. (หมุนตามเข็มนาฬิกา)
- 2 : 6 ตัน-ม. (หมุนทวนเข็มนาฬิกา)
- 3 : 4.5 ตัน-ม. (หมุนตามเข็มนาฬิกา)
- 4 : 4.5 ตัน-ม. (หมุนทวนเข็มนาฬิกา)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จากคานที่แสดง จงคำนวณหาค่าแรงปฎิกิริยาที่จุด C เท่ากับเท่าใด
- 1 : 2 ตัน (ทิศขึ้น)
- 2 : 2 ตัน (ทิศลง)
- 3 : 1.25 ตัน (ทิศขึ้น)
- 4 : 2.75 ตัน (ทิศขึ้น)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จากคานที่แสดง โมเมนต์ดัดมากที่สุด (Mmax) บนคาน ACB จะอยู่ที่จุดไหน
- 1 : อยู่ที่จุด A
- 2 : อยู่ที่จุด B
- 3 : อยู่ที่จุด C
- 4 : อยู่ระหว่างจุด A กับจุด C
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- เมื่อกำหนดให้โมเมนต์ที่ปลายชิ้นส่วน (end moment) ที่หมุนตามเข็มนาฬิกามีค่าเป็นบวก จงคำนวณหาค่าโมเมนต์ดัดที่ปลาย A ของชิ้นส่วน AB: MAB มีค่าเท่ากับเท่าใด
- 1 : 4.5 ตัน-ม. (หมุนตามเข็มนาฬิกา)
- 2 : 4.5 ตัน-ม. (หมุนทวนเข็มนาฬิกา)
- 3 : 6.75 ตัน-ม. (หมุนตามเข็มนาฬิกา)
- 4 : 6.75 ตัน-ม. (หมุนทวนเข็มนาฬิกา)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- จากคานที่แสดง จงคำนวณหาค่าแรงปฎิกิริยาที่จุด A เท่ากับเท่าใด
- 1 : 4.525 ตัน (ทิศขึ้น)
- 2 : 5.525 ตัน (ทิศลง)
- 3 : 6.625 ตัน (ทิศขึ้น)
- 4 : 5.625 ตัน (ทิศขึ้น)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จากคานที่แสดงดังรูป จงหาค่าโมเมนต์ดัดมากที่สุด (Mmax) บนคาน AB จะอยู่ที่จุดไหน
- 1 : อยู่ที่จุด A
- 2 : อยู่ที่กึ่งกลางคาน AB
- 3 : อยู่ระหว่างจุด A กับจุด B โดยค่อนไปทางจุด B
- 4 : อยู่ระหว่างจุด A กับจุด B โดยค่อนไปทางจุด A
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- คาน AB ที่แสดงในรูป ก และ ข มีความยาวและค่า IE เท่ากันและรับน้ำหนักบรรทุกที่มีขนาดสุทธิเท่ากัน จงกำหนดว่าข้อความใดถูกต้อง
- 1 : โมเมนต์ดัดยึดแน่นที่ปลาย A ของรูป (ก) (FEMAB) มีค่าน้อยกว่าโมเมนต์ดัดยึดแน่นที่ปลาย A ของรูป (ข) (FEMAB)
- 2 : โมเมนต์ดัดยึดแน่นที่ปลาย A ของรูป (ก) (FEMAB) มีค่าเท่ากับโมเมนต์ดัดยึดแน่นที่ปลาย A ของรูป (ข) (FEMAB)
- 3 : โมเมนต์ดัดยึดแน่นที่ปลาย A ของรูป (ก) (FEMAB) มีค่ามากกว่าโมเมนต์ดัดยึดแน่นที่ปลาย A ของรูป (ข) (FEMAB)
- 4 : ไม่มีข้อใดถูกต้อง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- คานต่อเนื่อง ABCD รับน้ำหนักดังรูปที่แสดง จะเห็นว่า คานดังกล่าวมีความสมมาตรที่กึ่งกลางของคาน BC หากต้องการวิเคราะห์โครงสร้างให้รวดเร็วขึ้นโดยอาศัยความสมมาตรเข้าช่วย ดังนั้นต้องพิจารณาใช้ค่า stiffness factor สำหรับชิ้นส่วน AB (หรือ CD) และสำหรับชิ้นส่วน BC ดังนี้
- 1 : KAB = 4EI/L และ KBC = 4EI/L
- 2 : KAB = 3EI/L และ KBC = 4EI/L
- 3 : KAB = 3EI/L และ KBC = 3EI/L
- 4 : KAB = 3EI/L และ KBC = 2EI/L
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- คานต่อเนื่อง ABCD รับน้ำหนักดังรูปที่แสดง จะเห็นว่า คานรับน้ำหนักแบบปฎิสมมาตรที่กึ่งกลางของคาน BC หากต้องการวิเคราะห์โครงสร้างให้รวดเร็วขึ้นโดยอาศัยความสมมาตรเข้าช่วย จะต้องพิจารณาใช้ค่า stiffness factor สำหรับชิ้นส่วน AB (หรือ CD) และสำหรับชิ้นส่วน BC ดังนี้
- 1 : KAB = 4EI/L และ KBC = 4EI/L
- 2 : KAB = 3EI/L และ KBC = 4EI/L
- 3 : KAB = 3EI/L และ KBC = 6EI/L
- 4 : KAB = 4EI/L และ KBC = 6EI/L
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จงคำนวณโมเมนต์ดัดที่จุด A มีค่าเท่ากับเท่าใด
- 1 : wL2/8
- 2 : 3wL2//16
- 3 : 5wL2//16
- 4 : wL2//12
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- จงคำนวณแรงปฎิกิริยาที่จุด A มีค่าเท่ากับเท่าใด
- 1 : 5wL/8
- 2 : 11wL/16
- 3 : wL
- 4 : 21wL/16
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- จงคำนวณหาค่าโมเมนต์ดัดที่กึ่งกลางคาน AB มีค่าเท่ากับเท่าใด
- 1 : 7wL2/32
- 2 : 5wL2/32
- 3 : wL2/16
- 4 : 3wL2/8
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จงคำนวณหาค่าแรงเฉือนมากที่สุดตรงกลางช่วงคาน AB มีค่าเท่ากับเท่าใด
- 1 : 21wL/16
- 2 : 11wL/16
- 3 : 5wL/16
- 4 : 5wL/8
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- Determine the reaction at B of a continuous beam loaded as shown in figure below.
EI is constant.
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- โครงสร้างที่แสดง เป็นแบบ
- 1 : unstable
- 2 : stable และ determinate
- 3 : stable และ externally indeterminate 1st degree
- 4 : stable และ externally indeterminate 2nd degree
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- โครงสร้างที่แสดง เป็นแบบ
- 1 : unstable
- 2 : stable และ determinate
- 3 : stable และ externally indeterminate 1st degree
- 4 : stable และ externally indeterminate 2nd degree
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- โครงสร้างที่แสดง เป็นแบบ
- 1 : unstable
- 2 : stable และ determinate
- 3 : stable และ externally indeterminate 1st degree
- 4 : stable และ externally indeterminate 2nd degree
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- โครงสร้างที่แสดง เป็นแบบ
- 1 : unstable
- 2 : stable และ determinate
- 3 : stable และ externally indeterminate 1st degree
- 4 : stable และ externally indeterminate 2nd degree
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- โครงสร้างที่แสดง เป็นแบบ
- 1 : unstable
- 2 : stable และ determinate
- 3 : stable และ externally indeterminate 1st degree
- 4 : stable และ externally indeterminate 2nd degree
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- โครงสร้างที่แสดง เป็นแบบ
- 1 : unstable
- 2 : stable และ determinate
- 3 : stable และ externally indeterminate 1st degree
- 4 : stable และ externally indeterminate 2nd degree
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- โครงสร้างที่แสดง เป็นแบบ
- 1 : stable และ determinate
- 2 : stable และ externally indeterminate 1st degree
- 3 : stable และ externally indeterminate 2nd degree
- 4 : stable และ externally indeterminate 3rd degree
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- เมื่อพิจารณาเฉพาะการรองรับเพื่อถ่ายทอดน้ำหนักบรรทุก(support) จะเห็นว่าโครงสร้างระนาบที่แสดงเป็นแบบ
- 1 : externally determinate
- 2 : externally indeterminate 1st degree
- 3 : externally indeterminate 2nd degree
- 4 : externally indeterminate 3rd degree
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- เมื่อพิจารณาเฉพาะการรองรับเพื่อถ่ายทอดน้ำหนักบรรทุก(support) จะเห็นว่าโครงสร้างระนาบที่แสดงเป็นแบบ
- 1 : externally determinate
- 2 : externally indeterminate 1st degree
- 3 : externally indeterminate 2nd degree
- 4 : externally indeterminate 3rd degree
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- เมื่อพิจารณาเฉพาะการรองรับเพื่อถ่ายทอดน้ำหนักบรรทุก(support) จะเห็นว่าโครงสร้างระนาบที่แสดงเป็นแบบ
- 1 : externally determinate
- 2 : externally indeterminate 1st degree
- 3 : externally indeterminate 2nd degree
- 4 : externally indeterminate 3rd degree
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- เมื่อพิจารณาเฉพาะการรองรับเพื่อถ่ายทอดน้ำหนักบรรทุก(support) จะเห็นว่าโครงสร้างระนาบที่แสดงเป็นแบบ
- 1 : externally determinate
- 2 : externally indeterminate 1st degree
- 3 : externally indeterminate 2nd degree
- 4 : externally indeterminate 3rd degree
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- เมื่อพิจารณาเฉพาะการรองรับเพื่อถ่ายทอดน้ำหนักบรรทุก(support) จะเห็นว่าโครงสร้างระนาบที่แสดงเป็นแบบ
- 1 : externally determinate
- 2 : externally indeterminate 1st degree
- 3 : externally indeterminate 2nd degree
- 4 : externally indeterminate 3rd degree
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- เมื่อพิจารณาเฉพาะการรองรับเพื่อถ่ายทอดน้ำหนักบรรทุก(support) จะเห็นว่าโครงสร้างระนาบที่แสดงเป็นแบบ
- 1 : determinate
- 2 : indeterminate 1st degree
- 3 : indeterminate 2nd degree
- 4 : indeterminate 3rd degree
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- เมื่อพิจารณาเฉพาะการรองรับเพื่อถ่ายทอดน้ำหนักบรรทุก จะเห็นว่าโครงสร้างระนาบที่แสดงเป็นแบบ
- 1 : determinate
- 2 : indeterminate 1st degree
- 3 : indeterminate 2nd degree
- 4 : indeterminate 3rd degree
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- เมื่อพิจารณาเฉพาะการยึดโยงของชิ้นส่วนภายในโครงสร้าง จะเห็นว่าโครงสร้างระนาบที่แสดงเป็นแบบ
- 1 : stable และ determinate
- 2 : stable และ internally indeterminate 1st degree
- 3 : stable และ internally indeterminate 2nd degree
- 4 : stable และ internally indeterminate 3rd degree
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- โครงสร้างระนาบที่แสดงมีดีกรีอินดีเทอร์มิเนททั้งหมด เท่ากับ
- 1 : 0 ดีกรี
- 2 : 1 ดีกรี
- 3 : 2 ดีกรี
- 4 : 3 ดีกรี
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- โครงสร้างระนาบที่แสดงมีดีกรีอินดีเทอร์มิเนททั้งหมด เท่ากับ
- 1 : 3 ดีกรี
- 2 : 6 ดีกรี
- 3 : 9 ดีกรี
- 4 : 12 ดีกรี
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- โครงสร้างระนาบที่แสดงมีดีกรีอินดีเทอร์มิเนททั้งหมด เท่ากับ
- 1 : 6 ดีกรี
- 2 : 12 ดีกรี
- 3 : 18 ดีกรี
- 4 : 24 ดีกรี
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
- โครงสร้างระนาบที่แสดงมีดีกรีอินดีเทอร์มิเนททั้งหมด เท่ากับ
- 1 : 3 ดีกรี
- 2 : 6 ดีกรี
- 3 : 9 ดีกรี
- 4 : 12 ดีกรี
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- โครงสร้างระนาบที่แสดงมีดีกรีอินดีเทอร์มิเนททั้งหมด เท่ากับ
- 1 : 6 ดีกรี
- 2 : 9 ดีกรี
- 3 : 15 ดีกรี
- 4 : 18 ดีกรี
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- โครงสร้างระนาบที่แสดงมีดีกรีอินดีเทอร์มิเนททั้งหมด เท่ากับ
- 1 : 1 ดีกรี
- 2 : 2 ดีกรี
- 3 : 3 ดีกรี
- 4 : 5 ดีกรี
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- โครงสร้างระนาบที่แสดงมีดีกรีอินดีเทอร์มิเนททั้งหมด เท่ากับ
- 1 : 3 ดีกรี
- 2 : 6 ดีกรี
- 3 : 9 ดีกรี
- 4 : 12 ดีกรี
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- โครงสร้างระนาบที่แสดงมีดีกรีอินดีเทอร์มิเนททั้งหมด เท่ากับ
- 1 : 1 ดีกรี
- 2 : 2 ดีกรี
- 3 : 3 ดีกรี
- 4 : 5 ดีกรี
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
- โครงสร้างระนาบที่แสดงมีดีกรีอินดีเทอร์มิเนททั้งหมด เท่ากับ
- 1 : 3 ดีกรี
- 2 : 6 ดีกรี
- 3 : 9 ดีกรี
- 4 : 12 ดีกรี
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
- แรงในชิ้นส่วน c ของโครงข้อหมุนดังรูป มีค่าเท่าใด
- 1 : แรงดึง ขนาด 1.34 P
- 2 : แรงอัด ขนาด 1.34 P
- 3 : แรงดึง ขนาด 2.68 P
- 4 : แรงอัด ขนาด 2.68 P
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
- จงคำนวณหาแรงปฏิกิริยาในแนวดิ่งที่ปลาย B ของคานดังแสดงในรูป
- 1 : (1/4)wL
- 2 : (3/4)wL
- 3 : (3/8)wL
- 4 : (5/8)wL
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4