สาขา : เครื่องกล
วิชา : Ship Dynamics
เนื้อหาวิชา : 278 : 1.Introduction
ข้อที่ 1 :
- 1 : การเปลี่ยนแปลงของแอมปลิจูด มีผลต่อคาบเวลาและมุมเฟส
- 2 : การเปลี่ยนแปลงของคาบเวลามีผลต่อแอมปลิจูดและมุมเฟส
- 3 : การเปลี่ยนแปลงของมุมเฟสมีผลต่อแอมปลิจูดและคาบเวลา
- 4 : แอมปลิจูด, คาบเวลา และมุมเฟสเป็นตัวแปรที่เป็นอิสระต่อกัน
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 2 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 3 :
- ในการศึกษาคลื่นน้ำแบบ Sinusoidal (2 มิติ) ความยาวคลื่น (Wave Length) คือระยะใด
- 1 : ระยะในทางระดับ วัดระหว่างยอดคลื่นถึงท้องคลื่นที่ต่อเนื่องกัน
- 2 : ระยะในทางระดับ วัดระหว่าง 2 ยอดคลื่นหรือ 2 ท้องคลื่นที่ต่อเนื่องกัน
- 3 : ระยะในทางระดับของยอดคลื่นหรือท้องคลื่น
- 4 : ไม่มีข้อใดถูก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 4 :
- 1 : ความสูงที่ตำแหน่งใดๆ ของคลื่นเมื่อเทียบกับแกนอ้างอิงหรือระดับเฉลี่ย
- 2 : ความสูงที่วัดระหว่างแกนอ้างอิงกับจุดสูงสุด (Crest) หรือจุดต่ำสุดของคลื่น (Trough)
- 3 : ความสูงที่มีค่าเป็น 2 เท่าของความสูงที่ตำแหน่งใดๆ ของคลื่นเมื่อเทียบกับแกนอ้างอิงหรือระดับเฉลี่ย
- 4 : ความสูงที่มีค่าเป็น 2 เท่าของความสูงที่วัดระหว่างแกนอ้างอิงกับจุดสูงสุด (Crest) หรือจุดต่ำสุดของคลื่น (Trough)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 5 :
- 1 : เมื่อความยาวของคลื่นมากขึ้น ความเร็วคลื่นจะลดลง
- 2 : เมื่อความยาวของคลื่นมากขึ้น ความเร็วคลื่นจะเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย
- 3 : ความเร็วของคลื่นเป็นอิสระต่อความยาวของคลื่น
- 4 : ไม่มีข้อใดถูก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 6 :
- ในการศึกษาความเร็วในการเคลื่อนที่ของคลื่นแบบ Sinusoidal ความเร็วของคลื่นที่เกิดในน้ำจะมีคุณสมบัติแตกต่างกันตามระดับความลึกของน้ำอย่างไร
- 1 :
- 2 :
- 3 : ทั้งความเร็วของคลื่นในน้ำตื้นและน้ำลึก จะขึ้นอยู่กับความยาวคลื่น
- 4 : ทั้งความเร็วของคลื่นในน้ำตื้นและน้ำลึก จะเป็นอิสระต่อความยาวคลื่น
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 7 :
- 1 : 5 m.
- 2 : 10 m.
- 3 : 75 m.
- 4 : 150 m.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 8 :
- ในการเคลื่อนที่แบบ Heaving สมมุติว่าเมื่อใช้แรงภายนอกกดให้เรือจมลงในน้ำแล้วปล่อยแรงดังกล่าวออก ทำให้เรือมีการเคลื่อนที่ขึ้น-ลง และเมื่อมีแรง Damping Force เข้ามาเกี่ยวข้องจะทำให้ระยะขจัด (Displacement) ของการเคลื่อนที่แบบ Heaving เป็นอย่างไร
- 1 : เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
- 2 : ลดลงเรื่อย ๆ
- 3 : คงที่
- 4 : ไม่มีข้อใดถูก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 9 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 10 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 11 :
- จากการเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonic Motion ข้อใดกล่าวผิด
- 1 : Simple Harmonic Motion เป็นการเคลื่อนที่ ที่มีอัตราเร่งของการเคลื่อนที่เป็นสัดส่วนโดยตรงกับ ระยะของการเคลื่อนที่กับแนวอ้างอิง
- 2 : แรงต้านการเคลื่อนที่ (Restoring Force) ในการเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonic Motion เป็นสัดส่วนผกผันกับระยะขจัด (Displacement) จากแนวสมดุล
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 12 :
- 1 : 10cos(2t)
- 2 : 5cos(2t)
- 3 : 2cos(10t)
- 4 : 2cos(5t)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 13 :
- 1 : 20sin(2t)
- 2 : - 20sin(2t)
- 3 : - 10sin(2t)
- 4 : 10sin(2t)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 14 :
- 1 : 20cos(2t)
- 2 : - 20cos(2t)
- 3 : 40cos(2t)
- 4 : - 40cos(2t)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 15 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 16 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 17 :
- ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับแรง Restoring
- 1 : แรงที่พยายามดึงวัตถุกลับไปยังตำแหน่งสมดุลเดิม เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ออกจากตำแหน่งสมดุล
- 2 : เป็นแรงที่มีขนาดสัมพันธ์กับระยะขจัด
- 3 : วัตถุจะเคลื่อนที่กลับไปมาผ่านตำแหน่งสมดุล โดยมีอัตราเร่งภายใต้แรงนี้เสมอ และเคลื่อนที่เร็วขึ้นเมื่อเข้าใกล้ตำแหน่งสมดุล
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 18 :
- ข้อใดกล่าวผิด เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย (Simple Harmonic Motion)
- 1 : เมื่อวัตถุอยู่ในตำแหน่งสมดุล ระยะขจัดจะมีค่าเป็นศูนย์
- 2 : เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ไปไกลจากแนวสมดุลมากที่สุด แรง Restoring จะมีค่าต่ำสุด
- 3 : เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ห่างแนวสมดุลออกไป ความเร็วของการเคลื่อนที่จะลดลงเรื่อย ๆ
- 4 : เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ห่างแนวสมดุลออกไป อัตราเร่งของการเคลื่อนที่จะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 19 :
- ข้อใดกล่าวผิด เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิก แบบกลับไปมา
- 1 : ก่อนวัตถุจะเคลื่อนที่ออกจากแนวสมดุล วัตถุจะมีแต่เฉพาะพลังงานจลน์
- 2 : ปริมาณของพลังงานจลน์จะลดลงเรื่อย ๆ เมื่อวัตถุเคลื่อนห่างจากแนวสมดุลออกไป
- 3 : ปริมาณของพลังงานศักย์จะลดลงเรื่อย ๆ เมื่อวัตถุเคลื่อนห่างจากแนวสมดุลออกไป
- 4 : ระดับของพลังงานจลน์ของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบไปมานี้ เป็นสัดส่วนโดยตรงกับฟังก์ชันของเวลา
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 20 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 21 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 22 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 23 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 24 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 25 :
- 1 : 3
- 2 : 5
- 3 : 7
- 4 : 9
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 26 :
- ปัจจัยใดที่มีผลต่อความเร็วของคลื่น ที่ความลึกใด ๆ
- 1 : ความยาวคลื่น
- 2 : ความลึกของน้ำ
- 3 : แรงโน้มถ่วงของโลก
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 27 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 28 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 29 :
- ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานในคลื่นน้ำ
- 1 : พลังงานในคลื่นประกอบด้วยส่วนที่เป็นพลังงานจลน์และพลังงานศักย์
- 2 : พลังงานจลน์เกิดจากการที่อนุภาคมีการเคลื่อนที่แบบโคจร
- 3 : พลังงานศักย์เกิดจากการที่ของเหลวถูกยกตัวสูงขึ้น
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 30 :
- 1 : 1. 5.26 m/s
- 2 : 2. 10.124 m/s
- 3 : 3. 12.89 m/s
- 4 : 4. 14.98 m/s
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 31 :
- 1 : 0.21
- 2 : 1.56
- 3 : 2.92
- 4 : 4.77
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 32 :
- เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ออกจากตำแหน่งสมดุล (Equilibrium Position) ข้อใดกล่าวถูกต้อง
- 1 : ยิ่งห่างจากจุดสมดุลแรง Restoring ยิ่งมีค่ามาก
- 2 : แรง Damping มีค่าคงที่เสมอ
- 3 : แรง Damping มีทิศทางเดียวกับแรง Restoring
- 4 : การที่เรือเปลี่ยนสภาพกินน้ำลึกไปเกิดทริมเป็นการเคลื่อนที่แบบ Oscillation
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 33 :
- ข้อใดจัดว่าเป็นการเคลื่อนที่แบบ Oscillation ของเรือที่ลอยอิสระอยู่
- 1 : เรือเปลี่ยนจากเกิดทริมทางหัวไปเป็นเกิดทริมทางท้ายเรือ
- 2 : Angle of Loll เปลี่ยนจาก 7 องศา เป็น 7 องศา
- 3 : หลังจากนำน้ำหนักปริมาณมากๆ ออกจากเรือโดยฉับพลัน
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 34 :
- ข้อใดไม่เป็นการเคลื่อนที่แบบ Oscillation ของเรือที่ลอยอิสระอยู่
- 1 : การเคลื่อนที่หลังจากการหยุดเครื่องยนต์แล้วปล่อยให้เรือแล่นต่อไปจนหยุดนิ่ง
- 2 : หลังจากใส่น้ำหนักปริมาณมากๆ ลงในเรืออย่างฉับพลัน
- 3 : หลังจากเอาน้ำหนักปริมาณมากๆ ออกจากเรืออย่างฉับพลัน
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 35 :
- ข้อใดคือการเคลื่อนที่ Oscillation ของเรือแบบ Pitching
- 1 : เมื่อเรือถูกคลื่นกระทำจากด้านข้างและกระดกหัวกระดกท้าย
- 2 : เมื่อเรือถูกคลื่นกระทำจากด้านหัวหรือด้านท้ายและกระดกหัวกระดกท้าย
- 3 : ขณะที่นำของหนักมาก ๆ ออกจากเรือบริเวณหัวหรือท้ายเรือโดยฉับพลัน
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 36 :
- ข้อใดคือการเคลื่อนที่ Oscillation ของเรือแบบ Heaving
- 1 : การที่คลื่นกระทำด้านหัวหรือท้ายเรือแล้วเรือยกตัวสูงขึ้นลงจากระดับอ้างอิงเดิม
- 2 : การที่คลื่นกระทำด้านข้างเรือหรือท้ายเรือแล้วเรือยกตัวสูงขึ้นลงจากระดับอ้างอิงเดิม
- 3 : การที่เมื่อนำของหนักมากๆ ใส่ในเรือบริเวณหัวเรือโดยฉับพลันแล้วทำให้เรือยกตัวสูงขึ้นลงจากระดับอ้างอิงเดิม
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 37 :
- ข้อใดคือการเคลื่อนที่ Oscillation ของเรือแบบ Rolling
- 1 : การที่คลื่นวิ่งเข้ากระทำท้ายเรือที่จอดอยู่แล้วเรือโคลงไปมาซ้าย-ขวา
- 2 : การที่คลื่นวิ่งเข้ากระทำหัวเรือที่จอดอยู่แล้วเรือโคลงไปมาซ้าย-ขวา
- 3 : การที่คลื่นวิ่งเข้ากระทำด้านข้างเรือที่จอดอยู่แล้วเรือโคลงไปมาซ้าย-ขวา
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 38 :
- ข้อใดคือการเคลื่อนที่ Oscillation ของเรือแบบ Yawing
- 1 : การที่เรือเมื่อจอดอิสระอยู่แล้ว เข็มหัวเรือเปลี่ยนไปมาระหว่างบวก 10 องศา และ ลบ 10 องศา อยู่ช่วงเวลาหนึ่ง
- 2 : การที่เรือเมื่อจอดอิสระอยู่แล้ว โคลงซ้ายขวาเปลี่ยนไปมาระหว่างบวก 10 องศา และ ลบ 10 องศา อยู่ช่วงเวลาหนึ่ง
- 3 : การที่เรือเมื่อจอดอิสระอยู่แล้ว ทริมท้ายเปลี่ยนไปมาระหว่างบวก 10 ซม. และ ลบ 10 ซม. อยู่ช่วงเวลาหนึ่ง
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 39 :
- ถ้าเดิมเรือลอยอยู่อย่างสมดุล หลังจากค่อยๆสูบน้ำอับเฉา (Ballast) เข้าถังกลางลำบริเวณหัวเรือเสร็จสิ้น ข้อใดกล่าวถูกต้อง
- 1 : 1. เรือย่อมเกิด Oscillation แบบ Rolling
- 2 : เรือย่อมเกิด Oscillation แบบ Heaving
- 3 : เรือย่อมเกิด Oscillation แบบ Swaying
- 4 : ไม่มีข้อใดถูก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 40 :
- แท่งไม้รูปคล้ายแปรงลบกระดานแท่งหนึ่งถูกกดให้จมขนานอยู่ใต้น้ำลึกมาก ถ้ายกเลิกแรงกดทันที แท่งไม้นี้จะลอยขึ้นสู่ผิวหน้าน้ำทันที ถามว่าช่วงแรกที่แท่งไม้ลอยขึ้นสู่ผิวหน้าน้ำจะสังเกตเห็นแท่งไม้เคลื่อนที่ Oscillation แบบใดชัดเจนที่สุด
- 1 : Heaving
- 2 : Swaying
- 3 : Yawing
- 4 : Surging
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 41 :
- แท่งไม้หนักมากรูปทรงคล้ายแปรงลบกระดานแท่งหนึ่งกำลังลอยอิสระในน้ำนิ่ง ถ้าทำน้ำกระเพื่อมพอประมาณเข้าใส่ทางด้านข้างของแท่งไม้นี้สักระยะเวลาหนึ่ง ช่วงแรกๆจะสังเกตเห็นแท่งไม้เคลื่อนที่ Oscillation แบบใดชัดเจนที่สุด
- 1 : Heaving
- 2 : Swaying
- 3 : Rolling
- 4 : Yawing
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 42 :
- ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของเรือในคลื่นปกติ (Regular Wave)
- 1 : ถ้า Encountering Frequency เท่ากับศูนย์ ตำแหน่งสัมพันธ์ระหว่างเรือกับคลื่นจะไม่เปลี่ยน
- 2 : ถ้า Encountering Frequency มากกว่าศูนย์ แล้วคลื่นตามมาจากด้านหลัง คลื่นจะวิ่งแซงเรือไปในที่สุด
- 3 : ถ้า Encountering Frequency น้อยกว่าศูนย์ แล้วคลื่นอยู่ข้างหน้าเรือ เรือจะแล่นไปทันคลื่นในที่สุด
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 43 :
- ลักษณะการเคลื่อนที่ของเรือในทะเลโดยที่เรือแล่นไปทิศทางเดียวกับคลื่นที่กำลังเคลื่อนที่อยู่ เรียกว่าอะไร
- 1 : Head Sea
- 2 : Following Sea
- 3 : Beam Sea
- 4 : Slow Overtaking Sea
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 44 :
- ลักษณะการเคลื่อนที่ของเรือที่แล่นลงใต้ ในทะเลที่คลื่นวิ่งมาจากทิศตะวันออก เรียกว่าอะไร
- 1 : Head Sea
- 2 : Following Sea
- 3 : Beam Sea
- 4 : South Heading Sea
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 45 :
- ถ้าขณะนั้นทิศทางการเคลื่อนที่ของเรือต่างกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น 270 องศา แสดงว่าเรือกำลังเคลื่อนที่ในสภาพแวดล้อมแบบใด
- 1 : Head Sea
- 2 : Following Sea
- 3 : Beam Sea
- 4 : Overtaking Sea
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 46 :
- การจะกำหนดว่าเป็นคลื่นในน้ำลึกหรือน้ำตื้นจะพิจารณาจากข้อใด
- 1 : ความลึกเฉลี่ยของท้องทะเลบริเวณนั้น
- 2 : เทียบความยาวคลื่นกับความลึกเฉลี่ยของท้องทะเลบริเวณนั้น
- 3 : เทียบความสูงคลื่นกับความลึกเฉลี่ยของท้องทะเลบริเวณนั้น
- 4 : ดูจากความชันของคลื่น
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 47 :
- ข้อใดกล่าวถูกต้อง
- 1 : ความยาวคลื่นในน้ำตื้นอิสระต่อความยาวคลื่น
- 2 : ความยาวคลื่นในน้ำตื้นไม่อิสระต่อความยาวคลื่น
- 3 : ความยาวคลื่นในน้ำลึกอิสระต่อความยาวคลื่น
- 4 : ความสูงคลื่นในน้ำลึกไม่สัมพันธ์กับความโน้มถ่วงของโลก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 48 :
- ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับคลื่นในน้ำตื้น ณ ที่แห่งหนึ่ง ๆ
- 1 : คลื่นที่ยาว 10 เมตร เร็วเท่ากับคลื่นที่ยาว 9 เมตร
- 2 : ความเร็วคลื่นคำนวณได้จากความลึกเฉลี่ยของน้ำขณะนั้น
- 3 : ความโน้มถ่วงของโลกมีผลโดยตรงกับความเร็วคลื่น
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 49 :
- ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับคลื่นในน้ำลึก
- 1 : การคำนวณความเร็วต้องนำความยาวคลื่นมาประกอบด้วย
- 2 : การคำนวณความเร็วไม่ต้องนำความโน้มถ่วงโลกมาพิจารณาด้วย
- 3 : ความเร็วคลื่นอิสระต่อความยาวคลื่น
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 50 :
- ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นในน้ำตื้น
- 1 : ถ้าทราบความยาวคลื่นจะคำนวณความเร็วคลื่นได้ทันที
- 2 : คลื่นเดียวกันจะมีความเร็วบนดวงจันทร์เท่ากับบนโลก
- 3 : ถ้าทราบความลึกน้ำจะคำนวณความเร็วคลื่นได้ทันที
- 4 : ไม่มีข้อใดถูก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 51 :
- ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นในน้ำลึก
- 1 : ถ้าทราบความยาวคลื่นจะคำนวณความเร็วคลื่นได้ทันที
- 2 : คลื่นเดียวกันจะมีความเร็วบนดวงจันทร์เท่ากับบนโลก
- 3 : ถ้าทราบความลึกน้ำจะคำนวณความเร็วคลื่นได้ทันที
- 4 : ไม่มีข้อใดถูก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 52 :
- ในการเคลื่อนที่แบบแกว่งไปมา (Oscillatory) ตำแหน่งใดที่มีแรง Restoring น้อยที่สุด
- 1 : ตำแหน่งสมดุล
- 2 : ตำแหน่งแอมปลิจูดสูงสุด
- 3 : ตำแหน่งที่มีระยะขจัดสูงสุด
- 4 : ตำแหน่งที่มีระยะขจัดต่ำสุด
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 53 :
- 1 : 1 เมตร
- 2 : 2 เมตร
- 3 : 3 เมตร
- 4 : 4 เมตร
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 54 :
- ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
- 1 : คาบเวลาในการเคลื่อนที่มีค่าเท่ากับเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ ณ จุดใดๆ ครบ 1 รอบพอดี
- 2 :
- 3 : คาบเวลาคือ ส่วนกลับของความถี่
- 4 : ความถี่เชิงมุมแปรผันตรงกับคาบเวลา
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 55 :
- การรวมกันของการเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonic Motion ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง
- 1 : การเคลื่อนที่ของทั้งสองจะต้องมีขนาดแอมปลิจูดเท่ากัน
- 2 : การเคลื่อนที่ของทั้งสองไม่จำเป็นต้องมีมุมเฟสเท่ากัน
- 3 : การเคลื่อนที่ของทั้งสองต้องมีคาบเวลาเท่ากัน
- 4 : ความถี่ที่ได้จากการรวมกันของการเคลื่อนที่ทั้งสองต้องเท่ากับความถี่เดิมของการเคลื่อนที่ทั้งสอง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 56 :
- ข้อใดต่อไปนี้ เป็นเงื่อนไขในการรวมกันของการเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonic Motion
- 1 : ต้องมีความสูงคลื่นเท่ากัน
- 2 : ต้องมีแอมปลิจูดเท่ากัน
- 3 : ต้องมีคาบเวลาเท่ากัน
- 4 : ต้องมีมุมเฟสเท่ากัน
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 57 :
- ในการเคลื่อนที่แบบแกว่งไปมา (Oscillatory) ตำแหน่งใดที่มีอัตราเร่งสูงที่สุด
- 1 : ตำแหน่งสมดุล
- 2 : ตำแหน่ง 2/3 ของระยะขจัดสูงสุดจากตำแหน่งสมดุล
- 3 : ตำแหน่งที่มีระยะขจัดสูงสุด
- 4 : ตำแหน่งที่มีระยะขจัดต่ำสุด
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 58 :
- ในการเคลื่อนที่แบบแกว่งไปมา (Oscillatory) กราฟในข้อใดต่อไปนี้เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง ความเร็วของการเคลื่อนที่ (V) กับ ระยะขจัด (Displacement): Z
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 59 :
- ในการเคลื่อนที่แบบแกว่งไปมา (Oscillatory) กราฟในข้อใดต่อไปนี้เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง อัตราเร่งของการเคลื่อนที่ (A) กับ ระยะขจัด (Displacement): Z
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 60 :
- ข้อใดต่อไปนี้ กล่าวไม่ถูกต้อง
- 1 : ในขณะก่อนที่วัตถุจะเริ่มเคลื่อนที่ออกจากแนวสมดุล วัตถุจะมีแต่เฉพาะพลังงานจลน์
- 2 : พลังงานจลน์จะมีค่าลดลงเมื่อความเร็วของการเคลื่อนที่ลดลง
- 3 : พลังงานศักย์จะมีค่ามากที่สุดเมื่อวัตถุเคลื่อนไปสู่จุดหยุดนิ่ง
- 4 : พลังงานศักย์จะมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อความเร็วของการเคลื่อนที่เพิ่มขึ้น
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 61 :
- 1 : 3 เมตร
- 2 : 6 เมตร
- 3 : 3.14 เมตร
- 4 : 2เมตร
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 62 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 63 :
- 1 : 0 เมตร
- 2 : 1 เมตร
- 3 : 2 เมตร
- 4 : 3 เมตร
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 64 :
- ในการเคลื่อนที่แบบแกว่งไปมา (Oscillatory) ตำแหน่งใดที่มีแรง Restoring มากที่สุด
- 1 : ตำแหน่งสมดุล
- 2 : ตำแหน่ง 2/3 ของระยะขจัดสูงสุดจากตำแหน่งสมดุล
- 3 : ตำแหน่งที่มีระยะขจัดสูงสุด
- 4 : ตำแหน่งที่มีระยะขจัดต่ำสุด
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 65 :
- 1 : 0 เมตร/วินาที
- 2 : 3.14 เมตร/วินาที
- 3 : 6.28 เมตร/วินาที
- 4 : 1.57 เมตร/วินาที
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 66 :
- 1 : 0 เมตร/วินาที
- 2 : 5 เมตร/วินาที
- 3 : 3.14 เมตร/วินาที
- 4 : 15.7 เมตร/วินาที
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 67 :
- 1 : 0 เมตร/วินาที
- 2 : 5 เมตร/วินาที
- 3 : 3.14 เมตร/วินาที
- 4 : 6.28 เมตร/วินาที
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 68 :
- 1 : 0 เมตร/วินาที
- 2 : 3.14 เมตร/วินาที
- 3 : 6.28 เมตร/วินาที
- 4 : 10.47 เมตร/วินาที
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 69 :
- 1 : 0 เมตร/วินาที
- 2 : 1 เมตร/วินาที
- 3 : 2 เมตร/วินาที
- 4 : 3 เมตร/วินาที
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 70 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 71 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 72 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 73 :
- 1 : 7 cos (0.2t)
- 2 : 0.2cos(7t)
- 3 : 1.4 sin (0.2t)
- 4 : - 1.4 sin (0.2t)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 74 :
- 1 : 1.4 sin (0.2t)
- 2 : - 1.4 sin (0.2t)
- 3 : 7 sin (0.2t)
- 4 : - 7 sin (0.2t)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 75 :
- 1 : 0.28 sin (0.2t)
- 2 : - 0.28 sin (0.2t)
- 3 : 0.28 cos (0.2t)
- 4 : - 0.28 cos (0.2t)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 76 :
- 1 : 0.2 วินาที
- 2 : 3.14 วินาที
- 3 : 10.256 วินาที
- 4 : 31.4 วินาที
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 77 :
- 1 : 0.032 rad/sec
- 2 : 0.2 rad/sec
- 3 : 1 rad/sec
- 4 : 5.2 rad/sec
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 78 :
- 1 : 15
- 2 : -15
- 3 : 45
- 4 : - 45
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 79 :
- 1 : - 1.5 sin (0.5t)
- 2 : - 3 cos (0.5t)
- 3 : 1.5 sin (0.5t)
- 4 : 3 cos (0.5t)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 80 :
- ในกรณีของการเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ออกจากตำแหน่งสมดุล (Equilibrium Position) จะมีแรงปริมาณหนึ่งพยายามดึงให้วัตถุกลับไปยังตำแหน่งสมดุลดังเดิมเสมอ และวัตถุจะเคลื่อนที่กลับไปมาผ่านตำหน่งสมดุลโดยมีอัตราเร่งภายใต้แรงดังกล่าวเสมอ แรงดังกล่าวนี้มีชื่อเรียกเฉพาะว่าอย่างไร
- 1 : Restoring
- 2 : Harmonic
- 3 : Angular Acceleration
- 4 : Buckling
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 81 :
- ถ้าการเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonic Motion มีระยะขจัดในเทอมของเวลาเป็น cos(0.2t) จงคำนวณหาอัตราเร่งในเทอมของเวลา
- 1 : - 0.04 sin (0.2t)
- 2 : - 0.04 cos (0.2t)
- 3 : 0.04 sin (0.2t)
- 4 : 0.04 cos (0.2t)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 82 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 83 :
(เทียบกับฟังก์ชั่น z = zasin(wt))
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 84 :
- ถ้าน่านน้ำแห่งหนึ่งเกิดคลื่นฮาร์โมนิคที่มีความยาวคลื่น 1,000 m. และมีความเร็วของคลื่นเท่ากับ 20 m/s โดยที่ขณะนั้นน้ำมีความลึกเท่ากับ 100 m จงคำนวณหาคาบเวลาการเคลื่อนที่ของคลื่น ดังกล่าว
- 1 : 5 Sec.
- 2 : 50 Sec.
- 3 : 55 Sec.
- 4 : 65 Sec.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 85 :
- ถ้าร่องน้ำแห่งหนึ่งเกิดคลื่นฮาร์โมนิคที่มีความยาว 50 m. และสูง 2 m. โดยที่ขณะนั้นน้ำมีความลึก 150 m. มีความเวลาการเคลื่อนที่เท่ากับ 32.024 sec. จงหาค่าตัวเลขคลื่น (Wave Number)
- 1 : 0.13
- 2 : 8.84
- 3 : 32.02
- 4 : 78.07
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 86 :
- ถ้าคลื่นฮาร์โมนิคในร่องน้ำแห่งหนึ่งมีความยาวคลื่นเท่ากับ 15 m. มีแอมปลิจูดขนาด 0.25 m. จงหาคาบเวลาของคลื่น
- 1 : 3.10 Sec.
- 2 : 9.60 Sec.
- 3 : 92.30 Sec.
- 4 : 94.57 Sec.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 87 :
- 1 : 3.42 Sec.
- 2 : 11.56 Sec.
- 3 : 20.94 Sec.
- 4 : 131.69 Sec.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 88 :
- 1 : 2.21 m/s
- 2 : 5.5 m/s
- 3 : 12.54 m/s
- 4 : 35.11 m/s
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 89 :
- 1 : 1.26 Sec.
- 2 : 5.5 Sec.
- 3 : 12.54 Sec.
- 4 : 31.42 Sec.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 90 :
- ในการเคลื่อนที่อย่างง่าย (Simple Harmonic Motions) แรงใดที่พยายามดึงวัตถุให้กลับไปยังตำแหน่งสมดุล
- 1 : แรงภายนอก (External Force)
- 2 : แรงภายใน (Internal Force)
- 3 : แรงต้านการเคลื่อนที่ (Restoring Force)
- 4 : แรงเฉือน
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 91 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 92 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 93 :
- ในการเคลื่อนที่แบบแกว่งไปมา (Oscillatory) ตำแหน่งใดที่มีความเร็วในการเคลื่อนที่สูงสุด
- 1 : ตำแหน่งสมดุล
- 2 : ตำแหน่งที่มีแอมปลิจูดสูงสุด
- 3 : ตำแหน่งที่มีระยะขจัดสูงสุด
- 4 : ตำแหน่งที่มีระยะขจัดต่ำสุด
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 94 :
- 1 : 3 เมตร
- 2 : -3 เมตร
- 3 : 3.14 เมตร
- 4 : -3.14 เมตร
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 95 :
- กราฟในข้อใดต่อไปนี้เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง แรง Restoring (F)กับ ระยะขจัด (Displacement): Z
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 96 :
- การรวมกันของการเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonic Motion ที่มีคาบเวลาของการเคลื่อนที่เท่ากัน ผลลัพธ์ที่ได้คือ
- 1 : การเคลื่อนที่ที่มีขนาดแอมปลิจูดเท่าเดิม
- 2 : การเคลื่อนที่ที่มีขนาดระยะขจัดเท่าเดิม
- 3 : การเคลื่อนที่ที่มีมุมเฟสเท่าเดิม
- 4 : การเคลื่อนที่ที่มีความถี่เท่าเดิม
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 97 :
- สมการในข้อใดต่อไปนี้ เป็นสมการโดยทั่วไปของคลื่นไซนูซอยดอย ( Sinusoidal Water Wave )
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 98 :
- คุณสมบัติใดในข้อต่อไปนี้ ที่ไม่มีผลต่อความเร็วของคลื่นแบบ Sinusoidal
- 1 : ความลึกของน้ำ
- 2 : ความยาวคลื่น
- 3 : ความสูงคลื่น
- 4 : ค่าแรงโน้มถ่วงของโลก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 99 :
- การเคลื่อนที่ของคลื่น Sinusoidal ในน้ำลักษณะใด ที่ความยาวคลื่นแทบจะไม่มีผลต่อความเร็ว
- 1 : ความลึกของน้ำ
- 2 : ความยาวคลื่น
- 3 : ความสูงคลื่น
- 4 : ค่าแรงโน้มถ่วงของโลก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 100 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 101 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 102 :
- การรวมกันของขบวนคลื่น (Additional of Wave Trains) ซึ่งมีปรากฏการณ์ที่เรียกว่า Superposition นั้นหมายถึง
- 1 : การรวมกันของขบวนคลื่นที่มีขนาดแอมปลิจูดเท่ากัน
- 2 : การรวมกันของขบวนคลื่นที่มีคาบเวลาเท่ากัน
- 3 : การรวมกันของขบวนคลื่นที่มีความถี่เท่ากัน
- 4 : การรวมกันของขบวนคลื่นที่มีความเร็วเท่ากัน
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 103 :
- ข้อใดเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเร็วคลื่น
- 1 : ความยาวคลื่น
- 2 : อัตราเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก
- 3 : ความลึกของน้ำ
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 104 :
- จงคำนวณหาตัวเลขคลื่น (Wave number) ของคลื่นฮาร์โมนิคที่มีคาบเท่ากับ 2 วินาที ในทะเลลึกมาก (Deep Water)
- 1 : 0.25
- 2 : 1
- 3 : 1.75
- 4 : 2.50
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 105 :
- จงคำนวณหาความยาวคลื่นของคลื่นฮาร์โมนิคที่มีคาบเท่ากับ 2 วินาที ในทะเลลึกมาก (Deep Water)
- 1 : 0.16
- 2 : 0.32
- 3 : 3.125
- 4 : 6.25
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 106 :
- จงคำนวณหาความเร็วคลื่นของคลื่นฮาร์โมนิคที่มีคาบเท่ากับ 2 วินาที ในทะเลลึกมาก (Deep Water)
- 1 : 0.16
- 2 : 0.32
- 3 : 3.125
- 4 : 6.25
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 107 :
- จงคำนวณหาความเร็วคลื่นของคลื่นฮาร์โมนิคที่มีความยาวคลื่นเท่ากับ 120 เมตร ในทะเลลึก 5 เมตร
- 1 : 2.79
- 2 : 5.60
- 3 : 7.00
- 4 : 13.69
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
เนื้อหาวิชา : 279 : 2.Introduction to Ship Motion
ข้อที่ 108 :
- 1 : 4.23
- 2 : 2.12
- 3 : 2.44
- 4 : 12.69
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 109 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 110 :
- 1 : 5
- 2 : 9.27
- 3 : 25
- 4 : 2.23
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 111 :
- 1 : 0.14
- 2 : 7.14
- 3 : 136.8
- 4 : 2016
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 112 :
- แรง Damping ที่กระทำกับเรือในระหว่างที่เรือเคลื่อนที่แบบ Rolling มีทีมาจากองค์ประกอบข้อใด
- 1 : คลื่น
- 2 : ความฝืดข้างตัวเรือหรือจากคลื่นกระแสน้ำวน
- 3 : กระดูกงูส่วนยื่น (Bilge Keel), Skeg และ บรรดาส่วนยื่นต่างๆ (Appendages)
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 113 :
- การติดตั้งกระดูกงูปีก (Bilge Keel) เพื่อหลีกเลี่ยงหรือลดการเกิด Free Oscillation และถือเป็นการเพิ่มค่าใดให้กับเรือ
- 1 : Exciting Force
- 2 : Restoring
- 3 : Damping
- 4 : Inertia
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 114 :
- ในการเคลื่อนที่แบบ Rolling การที่เรือมีมุมเอียงไปกราบซ้ายขวาของเรือลดลงเรื่อย ๆ เป็นผลมาจากค่าใด
- 1 : Exciting Force
- 2 : Restoring
- 3 : Damping
- 4 : Inertia
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 115 :
- สำหรับย่านความเร็วใช้งานของเรือนั้นถูกแบ่งออกเป็น 3 ย่าน คือ ย่านก่อนวิกฤต (Subcritical Zone), ย่านวิกฤต ( Critical Zone) และย่านเหนือวิกฤต (Supercritical Zone) ซึ่งเรือจะปฏิบัติการในย่านใดขึ้นอยู่กับตัวแปรใด
- 1 : ความเร็วและความยาวของเรือ
- 2 : ความเร็วของเรือ และความลึกของน้ำ
- 3 : Froude Number และ ลักษณะที่เรือแล่นเข้าหาคลื่น
- 4 : ความเร็วของเรือ และความเร็วของลมที่กระทำกับเรือ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 116 :
- การเคลื่อนที่เชิงมุมรอบแกนทางตั้งของเรือ คือหัวเรือกวาดไปในทางระดับ จัดเป็นการเคลื่อนที่ แบบใด
- 1 : Surging
- 2 : Swaying
- 3 : Pitching
- 4 : Yawing
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 117 :
- ในการเคลื่อนที่แบบ Heaving แรง Damping Force มีทิศทางเป็นอย่างไรกับการเคลื่อนที่ของเรือ
- 1 : ทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ของเรือ
- 2 : ทิศทางตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ของเรือ
- 3 : ทิศทางตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของเรือ
- 4 : ไม่มีข้อใดถูก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 118 :
- การที่เรือเคลื่อนที่ไปข้างหน้าหรือถอยหลังในแนวระดับ เป็นการเคลื่อนที่ลักษณะใด
- 1 : Surging
- 2 : Swaying
- 3 : Pitching
- 4 : Yawing
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 119 :
- การเคลื่อนที่ทางขวางในแนวระดับ (เคลื่อนที่ทางข้าง) เป็นการเคลื่อนที่ลักษณะใด
- 1 : Surging
- 2 : Swaying
- 3 : Pitching
- 4 : Yawing
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 120 :
- เทอม Virtual Mass ในสมการการเคลื่อนที่ของเรือในของเหลวคืออะไร ?
- 1 : คือค่าโมเมนต์อินเนอเชียของมวลเรือ
- 2 : คือแรงที่กระทำกับหารด้วยค่าแรงโน้มถ่วง (g)
- 3 : คือมวลเรือบวกกับมวลที่เพิ่ม (Added Mass) อันเนื่องจากเรือเคลื่อนทีในของเหลว
- 4 : มวลที่เพิ่ม (Added Mass) อันเนื่องจากเรือเคลื่อนที่ในของเหลว
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 121 :
- การหาค่าสัมประสิทธิ์ของเทอมในสมการเคลื่อนที่แบบ Heaving เทอมใดที่คำนวณได้โดยตรงจาก ขนาดพื้นที่แนวน้ำของเรือ
- 1 : เทอมที่เป็นแรง Inertia
- 2 : เทอมที่เป็นแรง Damping
- 3 : เทอมที่เป็นแรง Restoring
- 4 : เทอมที่เป็นแรง Exciting
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 122 :
- เรือรูปร่างปกติทั่วไปมีค่า Added Mass ในการเคลื่อนที่แบบ Heaving ประมาณเท่าใด
- 1 : 10 %
- 2 : 30%
- 3 : 70%
- 4 : 80%
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 123 :
- เมื่อใดเริ่มมีผลกระทบจากความตื้นของน้ำ (Shallow Water Effects) ต่อการเคลื่อนที่ของเรือโดยทั่วไป
- 1 : เมื่อความลึกน้ำใกล้เคียงกับความยาวเรือ
- 2 : เมื่อความลึกน้ำน้อยกว่า 4 เท่าของระดับกินน้ำลึกเรือ
- 3 : เมื่อความลึกน้ำน้อยกว่า 10 เท่าของระดับกินน้ำลึกเรือ
- 4 : เมื่อค่า Froude Number น้อยกว่า 1.0
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 124 :
- เมื่อใดที่อิทธิพลจากความตื้นของน้ำ (Shallow Water Effects) เริ่มมีอิทธิพลต่อการเคลื่อนที่ของเรือโดยทั่วไปมากขึ้น
- 1 : เมื่อความลึกน้ำน้อยกว่า 2 เท่าของระดับกินน้ำลึกเรือ
- 2 : เมื่อความลึกน้ำน้อยกว่า 4 เท่าของระดับกินน้ำลึกเรือ
- 3 : เมื่อความยาวเรือประมาณเท่ากับความลึกน้ำ
- 4 : เมื่อค่า Froude Number มากกว่า 1.0
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 125 :
- การเคลื่อนที่ของเรือบนผิวหน้าน้ำแบ่งได้เป็นกี่ลักษณะ
- 1 : 3
- 2 : 4
- 3 : 5
- 4 : 6
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 126 :
- Heaving คือการเคลื่อนที่ของเรือในลักษณะใด
- 1 : การเคลื่อนที่ไปข้างหน้าหรือถอยหลังในแนวระดับ (ตามแนวแกน x)
- 2 : การเคลื่อนที่ทางขวางในแนวระดับ ตามแนวแกน y (ตั้งฉากกับแกน x)
- 3 : การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งตามแนวแกน z (ตั้งฉากกับแกน x และ y)
- 4 : ผิดทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 127 :
- Pitching คือการเคลื่อนที่ของเรือในลักษณะใด
- 1 : การเคลื่อนที่เชิงมุมรอบแกนทางยาวของเรือ (แกน x)
- 2 : การเคลื่อนที่เชิงมุมรอบแกนทางขวางของเรือ (แกน y)
- 3 : การเคลื่อนที่เชิงมุมรอบแกนทางตั้งของเรือ (แกน z)
- 4 : ผิดทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 128 :
- Rolling คือการเคลื่อนที่ของเรือในลักษณะใด
- 1 : การเคลื่อนที่เชิงมุมรอบแกนทางยาวของเรือ (แกน x)
- 2 : การเคลื่อนที่เชิงมุมรอบแกนทางขวางของเรือ (แกน y)
- 3 : การเคลื่อนที่เชิงมุมรอบแกนทางตั้งของเรือ (แกน z)
- 4 : ผิดทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 129 :
- การเคลื่อนที่ของเรือลักษณะใด ที่ทำให้เกิดการทริม (Trim)
- 1 : Pitching
- 2 : Heaving
- 3 : Rolling
- 4 : Yawing
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 130 :
- อะไรคือแรงที่เรียกว่า Restoring Force
- 1 : แรงกระทำจากภายนอก
- 2 : แรงที่คอยหน่วงการเคลื่อนที่ของระบบ
- 3 : แรงที่พยายามดึงให้เรือกลับสู่แนวสมดุลเสมอ
- 4 : แรงเสียดทานผิวของเรือ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 131 :
- อะไรคือการเคลื่อนที่แบบ Forced, Damped Heaving Motion
- 1 : การเคลื่อนที่ที่เกิดจากแรง Inertia, แรง Damping, แรง Restoring และ แรงกระทำจากภายนอกมากระทำ
- 2 : การเคลื่อนที่ที่เกิดจาก Inertia และ แรง Restoring มากระทำเท่านั้น ไม่มีแรงภายนอกและไม่มีการหน่วงในระบบ
- 3 : การเคลื่อนที่ที่ปราศจาก แรงภายนอกมากระทำ และในระบบมีแรง Damping คอยหน่วงการเคลื่อนที่ มีแรง Inertia และ แรง Restoring
- 4 : การเคลื่อนที่ที่มีแรงภายนอกมากระทำ มีแรง Inertia และ แรง Restoring แต่ไม่มีแรง Damping
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 132 :
- อะไรคือการเคลื่อนที่แบบ Free, Undamped Heaving Motion
- 1 : การเคลื่อนที่ที่เกิดจากแรง Inertia, แรง Damping, แรง Restoring และ แรงกระทำจากภายนอกมากระทำ
- 2 : การเคลื่อนที่ที่เกิดจาก Inertia และ แรง Restoring มากระทำเท่านั้น ไม่มีแรงภายนอกและไม่มีการหน่วงในระบบ
- 3 : การเคลื่อนที่ที่ปราศจาก แรงภายนอกมากระทำ และในระบบมีแรง Damping คอยหน่วงการเคลื่อนที่ มีแรง Inertia และ แรง Restoring
- 4 : การเคลื่อนที่ที่มีแรงภายนอกมากระทำ มีแรง Inertia และ แรง Restoring แต่ไม่มีแรง Damping
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 133 :
- อะไรคือการเคลื่อนที่แบบ Free, Damped Heaving Motion
- 1 : การเคลื่อนที่ที่เกิดจากแรง Inertia, แรง Damping, แรง Restoring และ แรงกระทำจากภายนอกมากระทำ
- 2 : การเคลื่อนที่ที่เกิดจาก Inertia และ แรง Restoring มากระทำเท่านั้น ไม่มีแรงภายนอกและไม่มีการหน่วงในระบบ
- 3 : การเคลื่อนที่ที่ปราศจาก แรงภายนอกมากระทำ และในระบบมีแรง Damping คอยหน่วงการเคลื่อนที่ มีแรง Inertia และ แรง Restoring
- 4 : การเคลื่อนที่ที่มีแรงภายนอกมากระทำ มีแรง Inertia และ แรง Restoring แต่ไม่มีแรง Damping
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 134 :
- แรงใดที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่แบบ Heaving
- 1 : แรง Inertia
- 2 : แรงกระทำจากภายนอก
- 3 : แรง Restoring
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 135 :
- เราสามารถเพิ่มการ Damping ในการเคลื่อนที่แบบ Pitching ของเรือได้อย่างไร
- 1 : เพิ่มความกว้างให้กับเรือ
- 2 : ลดระยะกินน้ำลึก
- 3 : ทำให้เรือมีรูปร่างหน้าตัดเป็นตัว V มากขึ้น
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 136 :
- ข้อใดคือความหมายของคำว่า Ahead Seas
- 1 : กรณีหัวเรือแล่นสู้คลื่น
- 2 : กรณีคลื่นแล่นตามจากทางท้ายจนทัน และแซงหน้าเรือไปในที่สุด
- 3 : กรณีเรือแล่นตามคลื่นไปจนทัน แล้วแซงหน้าคลื่นไปในที่สุด
- 4 : ผิดทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 137 :
- ข้อใดคือความหมายของคำว่า Following Seas
- 1 : กรณีหัวเรือแล่นสู้คลื่น
- 2 : กรณีคลื่นแล่นตามจากทางท้ายจนทัน และแซงหน้าเรือไปในที่สุด
- 3 : กรณีเรือแล่นตามคลื่นไปจนทัน แล้วแซงหน้าคลื่นไปในที่สุด
- 4 : ผิดทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 138 :
- อะไรคือแรงที่เรียกว่า Damping Force
- 1 : แรงกระทำจากภายนอก
- 2 : แรงที่คอยหน่วงการเคลื่อนที่ของระบบ
- 3 : แรงที่พยายามดึงให้เรือกลับสู่แนวสมดุลเสมอ
- 4 : แรงเสียดทานผิวของเรือ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 139 :
- ข้อใดคือความหมายของคำว่า Overtaking Seas
- 1 : กรณีหัวเรือแล่นสู้คลื่น
- 2 : กรณีคลื่นแล่นตามจากทางท้ายจนทัน และแซงหน้าเรือไปในที่สุด
- 3 : กรณีเรือแล่นตามคลื่นไปจนทัน แล้วแซงหน้าคลื่นไปในที่สุด
- 4 : ผิดทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 140 :
- อะไรคือแรงที่เรียกว่า Exciting หรือ Encountering Force
- 1 : แรงกระทำจากภายนอก
- 2 : แรงที่คอยหน่วงการเคลื่อนที่ของระบบ
- 3 : แรงที่พยายามดึงให้เรือกลับสู่แนวสมดุลเสมอ
- 4 : แรงเสียดทานผิวของเรือ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 141 :
- โมเมนต์ใดที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่แบบ Pitching และ Rolling
- 1 : Inertial Moment
- 2 : Damping Moment
- 3 : Restoring Moment
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 142 :
- การเคลื่อนที่แบบใดที่ไม่ใช่การเคลื่อนที่แบบแกว่งกลับไปมา
- 1 : Heaving
- 2 : Yawing
- 3 : Rolling
- 4 : Pitching
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 143 :
- การเคลื่อนที่แบบใดที่เมื่อเรือถูกรบกวนให้ออกจากแนวสมดุลแล้ว เรือจะไม่กลับคืนเข้าสู่ตำแหน่งเดิมอีก นอกจากว่าจะมีแรงจากภายนอกหรือโมเมนต์ที่มีขนาดเท่ากับการรบกวนดังกล่าวมากระทำในทิศตรงกันข้าม
- 1 : Surging
- 2 : Swaying
- 3 : Yawing
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 144 :
- ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับมวลที่เพิ่มขึ้น Added mass ในการเคลื่อนที่แบบ Heaving
- 1 : มวลที่เพิ่มขึ้น (Added mass) ขึ้นอยู่กับขนาดมวลของเรือ
- 2 : มวลที่เพิ่มขึ้น (Added mass) จะเพิ่มขึ้นถ้าค่าสัมประสิทธิ์แท่งตัน (CB) เพิ่มขึ้น
- 3 : มวลที่เพิ่มขึ้น (Added mass) จะเพิ่มขึ้นถ้าอัตราส่วนความกว้างต่อความยาวเรือ (B/L) เพิ่มขึ้น
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 145 :
- 1 : ชนิดของการ Oscillation
- 2 : ความถี่ Oscillation ของการปะทะ
- 3 : รูปร่างของวัตถุ
- 4 : ทุกข้อที่กล่าวมา
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 146 :
- ในการศึกษาเชิงพลศาสตร์ด้วยแบบจำลอง จะต้องทำการทดลองโดยพยายามเลียนแบบสภาพแวดล้อมให้เหมือนจริงมากที่สุด และต้องดำเนินการอย่างถูกต้องให้บรรลุกฏความคล้ายคลึงใดบ้าง
- 1 : Geometrical Similarity
- 2 : Kinematic Similarity
- 3 : Dynamical Similarity
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 147 :
- Kinematic Similarity ระหว่างเรือจริงกับเรือจำลอง คืออะไร
- 1 : ความคล้ายคลึงกันทางรูปร่าง
- 2 : ความเหมือนกัน หรือเป็นสัดส่วนกันของการเปลี่ยนแปลงความเร็ว
- 3 : ความเหมือนกัน หรือเป็นสัดส่วนกันของการเปลี่ยนแปลงขนาดของแรงที่เกิดขึ้น
- 4 : ผิดทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 148 :
- Dynamical Similarity ระหว่างเรือจริงกับเรือจำลอง คืออะไร
- 1 : ความคล้ายคลึงกันทางรูปร่าง
- 2 : ความเหมือนกัน หรือเป็นสัดส่วนกันของการเปลี่ยนแปลงความเร็ว
- 3 : ความเหมือนกัน หรือเป็นสัดส่วนกันของการเปลี่ยนแปลงขนาดของแรงที่เกิดขึ้น
- 4 : ผิดทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 149 :
- แรง Damping ที่กระทำกับเรือในระหว่างที่เรือเคลื่อนที่แบบ Rolling มีที่มาจากองค์ประกอบใดบ้าง
- 1 : คลื่น
- 2 : ความฝืดข้างตัวเรือ หรือคลื่นกระแสน้ำวน (Eddy-making)
- 3 : กระดูกงูส่วนยื่น (Bilge keels) Skeg และส่วนยื่นต่าง ๆ ของเรือ (Appendages)
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 150 :
- 1 : 0.652
- 2 : 0.831
- 3 : 1.00
- 4 : 1.17
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 151 :
- 1 : Heaving
- 2 : Surging
- 3 : Swaying
- 4 : Pitching
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 152 :
- 1 : Heaving
- 2 : Surging
- 3 : Swaying
- 4 : Pitching
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 153 :
- 1 : Heaving
- 2 : Surging
- 3 : Swaying
- 4 : Pitching
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 154 :
- 1 : Heaving
- 2 : Rolling
- 3 : Yawing
- 4 : Pitching
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 155 :
- 1 : Heaving
- 2 : Rolling
- 3 : Yawing
- 4 : Pitching
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 156 :
- 1 : Heaving
- 2 : Rolling
- 3 : Yawing
- 4 : Pitching
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 157 :
- 1 : ไปมาระหว่าง a กับ c
- 2 : ไปมาระหว่าง d กับ b
- 3 : a ไป b หรือ a ไป d
- 4 : ไม่มีข้อใดถูก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 158 :
- 1 : ไปมาระหว่าง a กับ c
- 2 : ไปมาระหว่าง d กับ b
- 3 : a ไป b หรือ a ไป d
- 4 : ไม่มีข้อใดถูก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 159 :
- 1 : ไปมาระหว่าง a กับ c
- 2 : ไปมาระหว่าง d กับ b
- 3 : a ไป b หรือ a ไป d
- 4 : ไม่มีข้อใดถูก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 160 :
- 1 : Heaving
- 2 : Surging
- 3 : Pitching
- 4 : Swaying
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 161 :
- 1 : Heaving
- 2 : Surging
- 3 : Pitching
- 4 : Swaying
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 162 :
- 1 : Heaving
- 2 : Surging
- 3 : Pitching
- 4 : Swaying
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 163 :
- 1 : Free, Undamped Pitching Motion
- 2 : Free, Undamped Heaving Motion
- 3 : Forced Heaving Motion
- 4 : Forced Swaying Motion
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 164 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 165 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 166 :
- 1 :
- 2 :
- 3 : ตรงที่ Tuning Factor = 1.0
- 4 : ตรงที่ Tuning Factor มีค่าใกล้เคียงกับ 0
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 167 :
- 1 :
- 2 :
- 3 : ตรงที่ Tuning Factor = 1.0
- 4 : ตรงที่ Tuning Factor มีค่าสูงสุด
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 168 :
- ข้อใดกล่าวถูกเกี่ยวกับปริมาณมวลของเรือที่เคลื่อนที่ในของเหลวในสมการเคลื่อนที่ทั่วไป
- 1 : ปกติจะมีค่ามากกว่ามวลเรือในอากาศเล็กน้อย
- 2 : มีปริมาณเท่ากับมวลเรือในอากาศ
- 3 : มีค่ามากกว่ามวลของเรือในอากาศเป็นปริมาณเท่ากับ Added Mass ขณะนั้น
- 4 : มีค่าน้อยกว่ามวลของเรือในอากาศเป็นปริมาณเท่ากับ Added Mass ขณะนั้น
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 169 :
- ค่า Radius of Gyration มีประโยชน์ในการคำนวณสมการเคลื่อนที่เชิงมุมของเรือแบบ Rolling, Pitching และ Yawing อย่างไร
- 1 : นำไปหา Virtual Mass Moment of Inertia ได้
- 2 : นำไปหา Added Moment of Inertia ได้
- 3 : นำไปหา Moment of Inertia ของเรือได้
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 170 :
- Radius of Gyration ของเรือเป็นตัวแปรตัวหนึ่งสำหรับพิจารณาการเคลื่อนที่ของเรือแบบใดบ้าง
- 1 : Heaving Rolling และ Swaying
- 2 : Rolling Swaying และ Pitching
- 3 : Pitching Rolling และ Yawing
- 4 : Yawing Swaying และ Surging
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 171 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 172 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 173 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 174 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 175 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 176 :
- การเคลื่อนที่ของคลื่นแบบปกติ (Regular Wave) มีความสูงคลื่นเท่ากับข้อใด
- 1 : ความลึกของน้ำ
- 2 : สองเท่าของแอมปลิจูดของคลื่น
- 3 : ความสูงที่วัดระหว่างแกนอ้างอิงกับจุดสูงสุด
- 4 : ความสูงที่วัดระหว่างแกนอ้างอิงกับจุดต่ำสุด
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 177 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 178 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 179 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 180 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 181 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 182 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 183 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 184 :
- การเคลื่อนที่ของเรือบนผิวหน้าน้ำจะมีลักษณะเป็นแบบแกว่งไปมา (Oscillatory) อยู่ตลอดเวลา การเคลื่อนที่ข้อใดที่ไม่ได้เกิดขึ้นภายใต้แรง Restoring
- 1 : Heaving
- 2 : Rolling
- 3 : Pitching
- 4 : Yawing
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 185 :
- การเคลื่อนที่ของเรือบนผิวหน้าน้ำจะมีลักษณะเป็นแบบแกว่งไปมา (Oscillatory) อยู่ตลอดเวลา การเคลื่อนที่ของเรือแบบแกว่งไปมาเช่นนี้แบ่งออกได้เป็น 6 ลักษณะ การเคลื่อนที่ในข้อใดเป็นการเคลื่อนที่ในลักษณะไปข้างหน้าหรือถอยหลังในแนวระดับ
- 1 : Heaving
- 2 : Swaying
- 3 : Surging
- 4 : Yawing
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 186 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 187 :
- ถ้าเรือจำลองขนาดยาว 16.8 m ลำหนึ่งมีคาบเวลาของการเคลื่อนที่แบบ Heaving (Heaving Period) เท่ากับ 1.362 วินาที จงหา Heaving Period ของเรือจริงซึ่งยาว 420 m
- 1 : 0.27 วินาที
- 2 : 6.81 วินาที
- 3 : 8.41 วินาที
- 4 : 11.62 วินาที
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 188 :
- 1 : 0.79 Rad/Sec.
- 2 : 4.05 Rad/Sec.
- 3 : 24.31 Rad/Sec.
- 4 : 34.58 Rad/Sec.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 189 :
- 1 : 0.35 Sec.
- 2 : 0.39 Sec.
- 3 : 1.43 Sec.
- 4 : 3.08 Sec.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 190 :
- ข้อใดคือการเคลื่อนที่ของเรือบนผิวหน้าน้ำในลักษณะการเคลื่อนที่แบบเชิงมุม (Rotational) รอบแกน x,y,z
- 1 : Surging, Swaying และ Heaving
- 2 : Rolling, Pitching และ Yawing
- 3 : Rolling, Swaying และ Heaving
- 4 : Rolling, Pitching และ Swaying
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 191 :
- 1 : 0 องศา
- 2 : 90 องศา
- 3 : 180 องศา
- 4 : 360 องศา
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 192 :
- ข้อใดต่อไปนี้คือการเคลื่อนที่ของเรือแบบเชิงเส้น (Linear)ตามแกนหลัก x, Y และ Z
- 1 : Surging, Swaying, Heaving
- 2 : Yawing, Swaying, Pitching
- 3 : Yawing, Rolling, Swaying
- 4 : Yawing, Rolling, Pitching
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 193 :
- ข้อใดต่อไปนี้คือการเคลื่อนที่ของเรือแบบเชิงมุม (Rotational) ตามแกนหลัก x, Y และ Z
- 1 : Surging, Swaying, Heaving
- 2 : Yawing, Swaying, Pitching
- 3 : Yawing, Rolling, Swaying
- 4 : Yawing, Rolling, Pitching
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 194 :
- ในการศึกษาเชิงพลศาสตร์ด้วยการใช้แบบจำลอง (Model) จำเป็นต้องพิจารณาความคล้ายคลึงกันทางด้านใดระหว่างเรือจริงกับเรือจำลอง
- 1 : Geometrical Similarity
- 2 : Kinematic Similarity, Dynamical Similarity
- 3 : Geometrical Similarity, Kinematic Similarity
- 4 : Geometrical Similarity, Kinematic Similarity, Dynamical Similarity
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 195 :
- ถ้าเรือจำลองขนาดยาว 2 เมตร ลำหนึ่งมีคาบเวลาของการเคลื่อนที่แบบ Heaving เท่ากับ 2 วินาที จงคำนวณหาคาบเวลาของการเคลื่อนที่ของเรือจริง ขนาดยาว 288 เมตร
- 1 : 3 วินาที
- 2 : 6 วินาที
- 3 : 12 วินาที
- 4 : 24 วินาที
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 196 :
- การเคลื่อนที่ของเรือแบบเชิงเส้น (Linear) ตามแกน Z เรียกว่า
- 1 : Pitching
- 2 : Heaving
- 3 : Yawing
- 4 : Swaying
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 197 :
- ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช้วิธีการเพิ่มค่า Damping ของการเคลื่อนที่แบบ Pitching
- 1 : เพิ่มความกว้างให้กับเรือ
- 2 : เพิ่มความยาวให้กับเรือ
- 3 : ลดระยะกินน้ำลึก
- 4 : ลดค่า Cvp(Vertical Prismatic Coefficient)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 198 :
- แรง Damping ที่กระทำกับเรือในระหว่างที่เรือเคลื่อนที่แบบ Rolling มีที่มาจากองค์ประกอบต่าง ๆ ในข้อใดต่อไปนี้ ที่มีความสำคัญน้อยที่สุด
- 1 : จากคลื่น
- 2 : จากความฝืดข้างตัวเรือหรือจากคลื่นกระแสน้ำวน (Eddy-making)
- 3 : จากพลังงานที่หายไปเนื่องจากความร้อนที่เกิดขึ้นในระหว่างการเกิด Rolling
- 4 : จากกระดูกงูส่วนยื่น (Bilge Keel) , Skeg และ Appendages ต่างๆ ของเรือ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 199 :
- เรือเคลื่อนที่เชิงมุมรอบแกนทางยาวของเรือและโคลงในแนวกราบซ้ายขวาของเรือ เป็นการเคลี่อนที่ในลักษณะใด
- 1 : Surging
- 2 : Rolling
- 3 : Pitching
- 4 : Yawing
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 200 :
- เรือเคลื่อนที่เชิงมุมรอบแกนทางขวางของเรือและโคลงในแนวหัวท้ายเรือ (เกิด Trim) เป็นการเคลี่อนที่ในลักษณะใด
- 1 : Surging
- 2 : Rolling
- 3 : Pitching
- 4 : Yawing
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 201 :
- การเคลื่อนทีลักษณะใดเป็นการเคลื่อนที่ที่เกิดขึ้นภายใต้แรง Restoring เมื่อเรือถูกรบกวนให้ออกจากแนวสมดุลแล้วเรือจะกลับคืนเข้าสู่แนวสมดุลเดิม
- 1 : Surging, Swaying และ Yawing
- 2 : Heaving, Rolling และ Pitching
- 3 : Surging, Heaving และ Rolling
- 4 : Heaving Swaying และ Pitching
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 202 :
- การเคลื่อนที่แบบใดเป็นการเคลื่อนที่ในลักษณะเลื่อนไถลไปจากแนวสมดุลเดิม เมื่อเรือถูกรบกวนให้ออกจากแนวสมดุลแล้วเรือจะไม่กลับคืนเข้าสู่ตำแหน่งเดิมอีก นอกเสียจากว่าจะมีแรงจากภายนอกหรือโมเมนต์ที่มีขนาดเท่ากับการรบกวนดังกล่าวมากระทำในทิศทางตรงกันข้าม
- 1 : Surging, Swaying และ Yawing
- 2 : Heaving, Rolling และ Pitching
- 3 : Surging, Heaving และ Rolling
- 4 : Heaving Swaying และ Pitching
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 203 :
- เมื่อเปรียบเทียบคาบเวลาของการเคลื่อนที่อิสระแบบ Heaving (Free Heaving) ที่ไม่มีแรงภายนอกเข้ามาเกี่ยวข้อง แบบที่มีแรง Damping และไม่มีแรง Damping จะเป็นลักษณะใด
- 1 : คาบเวลาของการเคลื่อนที่ในแบบที่มี Damping จะสั้นกว่าเล็กน้อย
- 2 : คาบเวลาของการเคลื่อนที่ในแบบที่มี Damping จะยาวกว่าเล็กน้อย
- 3 : คาบเวลาของการเคลื่อนที่ทั้ง 2 แบบเท่ากัน
- 4 : ไม่มีข้อใดถูก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 204 :
- ในการเคลื่อนที่แบบ Heaving แรง Restoring หรือแรงที่พยายามดึงเรือให้กลับสุ่แนวสมดุลเป็นฟังก์ชั่นของข้อใด
- 1 : มวลของเรือกับอัตราเร่งของการเคลื่อนที่ในแนวแกน z
- 2 : ค่าคงที่ของการหน่วงกับความเร็วของการเคลื่อนที่ในแนวแกน z
- 3 : Restoring Coefficient กับความเร็วของการเคลื่อนที่ในแนวแกน z
- 4 : Restoring Coefficient กับระยะขจัด (Displacement) การเคลื่อนที่ของจุด CG. เรือตามแนวแกน z
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 205 :
- ในการเคลื่อนที่แบบ Heaving แรง Damping หรือแรงที่คอยหน่วงการเคลื่อนที่ของระบบเป็นฟังก์ชั่นของข้อใด
- 1 : มวลของเรือกับอัตราเร่งของการเคลื่อนที่ในแนวแกน z
- 2 : ค่าคงที่ของการหน่วงกับความเร็วของการเคลื่อนที่ในแนวแกน z
- 3 : ค่าคงที่ของการหน่วงกับระยะขจัด (Displacement) การเคลื่อนที่ของจุด CG. เรือตามแนวแกน z
- 4 : Restoring Coefficient กับระยะขจัด (Displacement) การเคลื่อนที่ของจุด CG. เรือตามแนวแกน z
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 206 :
- ในการเคลื่อนที่แบบ Heaving แรง Inertia เป็นฟังก์ชันของข้อใด
- 1 : มวลของเรือรวมกับมวลที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเรือเคลื่อนที่ในของเหลวกับอัตราเร่งของการเคลื่อนที่ในแนวแกน z
- 2 : ค่าคงที่ของการหน่วงกับความเร็วของการเคลื่อนที่ในแนวแกน z
- 3 : ค่าคงที่ของการหน่วงกับระยะขจัด (Displacement) การเคลื่อนที่ของจุด CG. เรือตามแนวแกน z
- 4 : Restoring Coefficient กับระยะขจัด (Displacement) การเคลื่อนที่ของจุด CG. เรือตามแนวแกน z
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 207 :
- ข้อใดไม่ใช่ตัวแปรในการหาแรง Restoring ของการเคลื่อนที่แบบ Heaving
- 1 : ความหนาแน่นของน้ำ
- 2 : พื้นที่หน้าตัดกลางลำ (Midship Area)
- 3 : ระยะการเคลื่อนที่แบบ Heaving
- 4 : อัตราเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 208 :
แรง Damping ที่กระทำกับเรือในระหว่างที่เรือเคลื่อนที่แบบ Rolling มีที่มาจากองค์ประกอบข้อใด
ก. อุณหภูมิน้ำ
ข. ความฝืดข้างตัวเรือหรือจากคลื่นกระแสน้ำวน
ค. ความต้านทานระหว่างเรือกับพื้นน้ำ
ง. พลังงานที่หายไปเนื่องจากความร้อนที่เกิดขึ้นในระหว่างเกิด Rolling
จ. ความตึงของผิวหน้าน้ำ
ฉ. อัตราเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง
- 1 : ข้อ ก. ค. จ. ฉ.
- 2 : ข้อ ก. ข. ค. จ.
- 3 : ข้อ ก. ข. ง. ฉ.
- 4 : ข้อ ข. ง. จ. ฉ.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 209 :
- ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับแรงที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่แบบ Heaving
- 1 : แรง Heaving มีค่าน้อยเมื่อคลื่นประสิทธิผล มีความยาวมากกว่าครึ่งหนึ่งของความยาวเรือ
- 2 : แรง Heaving มีค่าประมาณเท่ากับศูนย์ เมื่ออัตราส่วนระหว่างความยาวคลื่นประสิทธิผลต่อความยาวเรือมีค่าเท่ากับ สัมประสิทธิ์พื้นที่หน้าตัดกลางลำ
- 3 : แรง Heaving จะมีค่าน้อยหรือปานกลางเมื่อความยาวคลื่นประสิทธิผลมีขนาดใกล้เคียงกับความยาวเรือ
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 210 :
- คาบเวลาของการเคลื่อนที่แบบใดที่มีความสำคัญที่สุดในการศึกษาความเปียกของดาดฟ้า
- 1 : คาบเวลาของการเคลื่อนที่แบบ Pitching
- 2 : คาบเวลาของการเคลื่อนที่แบบ Rolling
- 3 : คาบเวลาของการเคลื่อนที่แบบ Heaving
- 4 : คาบเวลาของการเคลื่อนที่แบบ Surging
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 211 :
- อิทธิพลของน้ำตื้นส่งผลต่อการเคลื่อนที่แบบใดมากที่สุด
- 1 : Pitching และ Heaving
- 2 : Pitching และ Rolling
- 3 : Rolling และ Heaving
- 4 : Surging และ Swaying
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
เนื้อหาวิชา : 280 : 3.Irregular Seaway
ข้อที่ 212 :
- ในการเคลื่อนที่ของคลื่นแบบไม่แน่นอน (Irregular Wave) จะมีลักษณะการเปลี่ยนแปลงไปของผิวหน้าตามฟังก์ชั่นใด
- 1 : เวลา
- 2 : สถานที่
- 3 : ความเร็วลม
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 213 :
- ในการศึกษาการเคลื่อนที่ของเรือในคลื่นแบบไม่แน่นอน (Irregular Wave) จะพบว่าผิวหน้าน้ำจะเคลื่อนที่แบบไม่แน่นอน ซึ่งมีความซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นเราจะใช้วิธีใดในการทำนายขนาดของคลื่นชนิดดังกล่าวได้
- 1 : วิธีการทางสถิติ
- 2 : การรวมคลื่นไซนูซอยดอย (Sinusoidal Wave) ขนาดต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
- 3 : วัดความเร็วลม
- 4 : ข้อ ก. และ ข. ถูกต้อง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 214 :
- ในการศึกษาการเคลื่อนที่ของเรือในคลื่นแบบไม่แน่นอน (Irregular Wave) พบว่าสเปกตรัมพลังงานของคลื่น (Energy Spectrum) ณ ตำบลที่หนึ่ง ๆ จะมีค่าเป็นเช่นใด
- 1 : เพิ่มขึ้นตามเวลา
- 2 : ลดลงตามเวลา
- 3 : คงที่เสมอ
- 4 : ขึ้น-ลงไม่สม่ำเสมอ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 215 :
- ในการศึกษาการเคลื่อนที่ของเรือในคลื่นแบบไม่แน่นอน (Irregular Wave) ตัวแปรใดที่มีผลต่อรูปร่างลักษณะของสเปกตรัมคลื่น
- 1 : ความเร็วลม
- 2 : ช่วงเวลาของลมที่พัด (Duration)
- 3 : ระยะทางที่ลมพัดผ่านผิวหน้าน้ำ (Fetch)
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 216 :
- ในการศึกษาเรื่อง Irregular Seaway หากเราต้องการประมาณความหนาแน่นของสเปกตรัม (Spectral Density) เราสามารถหาได้จากสเปกตรัมคลื่นมาตรฐาน(Standard Wave Spectrum)ใดบ้าง
- 1 : สเปกตรัมคลื่นของ Bretschneider
- 2 : สเปกตรัมคลื่นของ JONSWAP
- 3 : สเปกตรัมคลื่นของ Pierson-Moskowitz
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 217 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 218 :
- 1 : 23.61 %
- 2 : 29.36 %
- 3 : 12.13 %
- 4 : 6.78 %
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 219 :
- ในการหาค่าความสูงนัยสำคัญ (Significant Wave Height) ของคลื่นแบบไม่แน่นอนที่เวลาและตำบลที่ใดๆ ใช้ความสูงนัยสำคัญชนิดใด
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 220 :
- 1 : 2.87 ม.
- 2 : 3.85 ม.
- 3 : 4.2 ม.
- 4 : 5.0 ม.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 221 :
- 1 : 2.87 ม.
- 2 : 3.85 ม.
- 3 : 4.2 ม.
- 4 : 5.0 ม.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 222 :
- 1 : 2.87 ม.
- 2 : 3.85 ม.
- 3 : 4.2 ม.
- 4 : 5.0 ม.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 223 :
- 1 : 2.87 ม.
- 2 : 3.85 ม.
- 3 : 4.2 ม.
- 4 : 5.0 ม.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 224 :
- ในการศึกษาเรื่อง พื้นน้ำชนิดมีคลื่นไม่แน่นอน (Irregular Seaway) ข้อใดคือความสูงคลื่นเฉลี่ย (Average Wave Height) ของคลื่นแบบไม่แน่นอนที่เวลาและตำบลที่ต่าง ๆ
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 225 :
- ในการศึกษาเรื่อง พื้นน้ำชนิดมีคลื่นไม่แน่นอน (Irregular Seaway) ข้อใดคือความสูงนัยสำคัญ (Significant Wave Height) ของคลื่นแบบไม่แน่นอนที่เวลาและตำบลที่ต่าง ๆ
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 226 :
- ในการศึกษาเรื่อง พื้นน้ำชนิดมีคลื่นไม่แน่นอน (Irregular Seaway) ข้อใดคือความสูงนัยสำคัญแบบ Average of One-tenth Highest Wave ของคลื่นแบบไม่แน่นอนที่เวลาและตำบลที่ต่าง ๆ
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 227 :
- ในการศึกษาเรื่อง พื้นน้ำชนิดมีคลื่นไม่แน่นอน (Irregular Seaway) ข้อใดคือความสูงนัยสำคัญแบบ Average of One-hundred Highest Wave ของคลื่นแบบไม่แน่นอนที่เวลาและตำบลที่ต่าง
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 228 :
- จากข้อมูลความสูงคลื่น จำนวน 102 ลูก ถ้าต้องการหาค่าเฉลี่ยความสูงแบบมีค่านัยสำคัญ 1 ใน 10 ของคลื่นกลุ่มนี้จะต้องคำนวณอย่างไร ?
- 1 : นำคลื่นขนาดสูงสุด จำนวน 10 ลูกแรกมาหาค่าเฉลี่ยความสูง
- 2 : เรียงความสูงคลื่นจากน้อยไปมากแล้วนำ 10 ลูกแรกมาหาค่าเฉลี่ยความสูง
- 3 : หาค่าเฉลี่ยความสูงของคลื่นทั้งหมด แล้วเพิ่มค่าขึ้นอีก 90%
- 4 : หาค่าเฉลี่ยความสูงของคลื่นทั้งหมด แล้วเพิ่มค่าขึ้นอีก 10%
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 229 :
- จากข้อมูลความสูงคลื่น จำนวน 102 ลูก ถ้าต้องการหาค่าเฉลี่ยความสูงแบบมีค่านัยสำคัญ 1 ใน 100 ของคลื่นกลุ่มนี้จะต้องคำนวณอย่างไร ?
- 1 : เรียงความสูงคลื่นจากน้อยไปมาก แล้วนำ 99 ลูกแรกมาหาค่าเฉลี่ยความสูง
- 2 : เรียงความสูงคลื่นจากมากไปน้อย แล้วนำ 99 ลูกแรกมาหาค่าเฉลี่ยความสูง
- 3 : เรียงความสูงคลื่นจากมากไปน้อย แล้วนำความสูงของคลื่นลูกแรกเท่านั้นมาเป็นค่าเฉลี่ยความสูง
- 4 : เรียงความสูงคลื่นจากมากไปน้อย แล้วนำ 101 ลูกแรกมาหาค่าเฉลี่ยความสูง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 230 :
- Histogram ของคลื่นแบบปกติ (Regular Wave) จำนวนมาก ๆ มีลักษณะสำคัญเป็นอย่างไร
- 1 : สูงและแคบ
- 2 : สูงและแผ่กว้าง
- 3 : คล้ายการแจกแจงแบบ Normal Distribution
- 4 : คล้ายการแจกแจงแบบ Rayleigh Distribution
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 231 :
- Histogram ของคลื่นแบบไม่แน่นอน (Irregular Wave) จำนวนมาก ๆ มีลักษณะสำคัญเป็นอย่างไร ?
- 1 : สูงและแคบ
- 2 : สูงและแผ่กว้าง
- 3 : เตี้ยและแผ่กว้าง
- 4 : เตี้ยและแคบ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 232 :
- Histogram จากข้อมูลความสูงคลื่นแบบไม่แน่นอน (Irregular Wave) มีรูปร่างลักษณะแจกแจงสอดคล้องกับฟังก์ชั่นการแจกแจงแบบใด ?
- 1 : Normal Distribution
- 2 : Rayleigh Distribution
- 3 : Normalized Bretschneider Spectrum
- 4 : JONSWAPs Spectrum
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 233 :
- ข้อใดกล่าวถูกต้อง
- 1 : ความสูงเฉลี่ยของคลื่นสามารถคำนวณได้จากกราฟ Histogram ความสูงคลื่นโดยตรง
- 2 : ความเร็วเฉลี่ยของคลื่นสามารถคำนวณได้จากกราฟ Histogram ความสูงคลื่นโดยตรง
- 3 : คลื่นไม่แน่นอน (Irregular Wave) ไม่เป็นฟังก์ชั่นของแรงดึงดูดโลก
- 4 : ถ้าไม่มีแรงดึงดูด คลื่นไม่แน่นอน (Irregular Wave) จะกลายเป็นคลื่นแบบปกติ (Regular Wave) ทันที
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 234 :
- ในการประมาณความสูงคลื่นไม่แน่นอน (Irregular Wave) นิยมใช้ความสูงคลื่นแบบมีค่านัยสำคัญแบบใด ?
- 1 : Average Wave Height
- 2 : Average of one third Highest Waves
- 3 : Average of one tenth Highest Waves
- 4 : Average of one hundred Highest Waves
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 235 :
- ทำไมบางครั้งต้องปรับแก้ขนาดความสูงนัยสำคัญที่คำนวณได้จากสเปกตรัมความสูงคลื่น
- 1 : เพื่อเพิ่ม Safety Factor ในการประมาณการ
- 2 : เพื่อปรับสเปกตรัมให้สอดคล้องกับลักษณะผิวหน้าทะเลจริง
- 3 : เนื่องจากสเปกตรัมนั้น ๆ มิได้กระจายแบบ Rayleigh Distribution
- 4 : เพื่อสามารถใช้สเปกตรัมความสูงคลื่นดังกล่าวได้กับทุกหน่วยวัด
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 236 :
- โบว์ฟอร์ด (Beaufort) เป็นหน่วยวัดของอะไร
- 1 : ความเร็วลม
- 2 : ความเร็วน้ำ
- 3 : อัตราเร่งของลม
- 4 : อัตราเร่งของน้ำ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 237 :
- สามารถแบ่งลักษณะผิวหน้าของทะเลเป็นสถานะต่าง ๆ ที่เรียกว่า Sea State ได้กี่สถานะ
- 1 : 7
- 2 : 8
- 3 : 9
- 4 : 10
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 238 :
- การหาค่าความสูงเฉลี่ย (Average Wave Height) ของคลื่นแบบไม่แน่นอน ที่เวลาและตำบลใด ๆ คือค่าเฉลี่ยทางคณิตศาสตร์ของความสูงคลื่นทั้งหมดนำมาพิจารณา ยกเว้นคลื่นที่มีความสูง ต่ำกว่าเท่าไรที่จะไม่นำมาคิด
- 1 : 1 นิ้ว
- 2 : 1 ฟุต
- 3 : 50 ซ.ม.
- 4 : 1 เมตร
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 239 :
- 1 : 0.46 m
- 2 : 0.68 m
- 3 : 0.91 m
- 4 : 1.31 m
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 240 :
- 1 : 0.85 m
- 2 : 0.98 m
- 3 : 1.17 m
- 4 : 1.27 m
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 241 :
- 1 : 0.915 m
- 2 : 1.07 m
- 3 : 1.31 m
- 4 : 1.53 m
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 242 :
- 1 : 0.915 m
- 2 : 1.07 m
- 3 : 1.31 m
- 4 : 1.53 m
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 243 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 244 :
- 1 : 3.82 m
- 2 : 4.26 m
- 3 : 4.76 m
- 4 : 5.52 m
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 245 :
- 1 : 2.3 %
- 2 : 5.76 %
- 3 : 10.2 %
- 4 : 18.1 %
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 246 :
- 1 : 3.21 %
- 2 : 5.75 %
- 3 : 7.80 %
- 4 : 12.5 %
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 247 :
- 1 : 3.74 %
- 2 : 5.86 %
- 3 : 12.1 %
- 4 : 15.3 %
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 248 :
- 1 : 3.26 %
- 2 : 2.82 %
- 3 : 1.73 %
- 4 : 1.05 %
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 249 :
- ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับพลังงานในคลื่น
- 1 : พลังงานในคลื่นสามารถคำนวณหาได้โดยตรงจากขนาดแอมปลิจูดคลื่น
- 2 : สเปกตรัมพลังงาน คือ แผนภูมิกระจายระดับพลังงานของคลื่นที่ความถี่ต่าง ๆ
- 3 : พลังงานในคลื่นขึ้นอยู่กับความยาวคลื่น
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 250 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 251 :
- 1 : 2 m
- 2 : 4 m
- 3 : 6 m
- 4 : 8 m
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 252 :
- 1 : 313.34 kg/m
- 2 : 626.83 kg/m
- 3 : 1,253.65 kg/m
- 4 : 2,507.30 kg/m
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 253 :
- ข้อใดเป็นตัวแปรสำคัญที่มีผลต่อรูปร่างลักษณะของสเปกตรัมคลื่น
- 1 : ความเร็วลม
- 2 : ช่วงเวลาที่ลมพัด
- 3 : ระยะทางที่ลมพัดผ่านผิวหน้าน้ำ
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 254 :
- ในการคำนวณการเคลื่อนที่ของเรือในคลื่นจะใช้คาบเวลาชนิดใดในการคำนวณ และมีผลโดยตรงต่อพลศาสตร์การเคลื่อนของเรือ
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 255 :
- 1 : ความเร็วเรือ
- 2 : มุมที่เรือกระทำกับคลื่น
- 3 : ทิศทางการเคลื่อนที่ของเรือ
- 4 : ความสูงของคลื่น
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 256 :
- ในกรณีใดต่อไปนี้ ที่ความถี่เชิงมุมของคลื่น (Circular Frequency) และความถี่ของการปะทะมีค่าเท่ากัน
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 257 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 258 :
- 1 : วัดจากทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นไปตามเข็มนาฬิกาจนถึงแนวทิศทางการเคลื่อนที่ของเรือ
- 2 : วัดจากทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นทวนเข็มนาฬิกาจนถึงแนวทิศทางการเคลื่อนที่ของเรือ
- 3 : วัดจากทิศทางการเคลื่อนที่ของเรือไปตามเข็มนาฬิกาจนถึงแนวทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น
- 4 : วัดจากมุมที่น้อยที่สุดระหว่างทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นกับทิศทางการเคลื่อนที่ของเรือ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 259 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 260 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 261 :
- จงคำนวณหาความเร็วคลื่น (หน่วยเป็นเมตร/นาที) ที่มีคาบเวลา 2 วินาที (สมมุติว่าเป็นคลื่นในน้ำลึก)
- 1 : 1.56
- 2 : 3.123
- 3 : 6.245
- 4 : 10.525
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 262 :
- จงคำนวณหาความเร็วคลื่น (หน่วยเป็นเมตร/นาที) ที่มีคาบเวลา 6 วินาที (สมมุติว่าเป็นคลื่นในน้ำลึก)
- 1 : 9.36
- 2 : 15.6
- 3 : 36.245
- 4 : 100.54
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 263 :
- ความสูงนัยสำคัญ (Significant Wave Height) ชนิดใดที่นิยมใช้มากที่สุด
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 264 :
- ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง
- 1 : Standing wave ถือเป็นปรากฏการณ์ Superposition
- 2 : Standing wave เป็นคลื่นประจำที่มีขนาดแอมปลิจูดเพิ่มขึ้นและลดลงอยู่กับที่
- 3 : Standing wave เป็นคลื่นในอุดมคติ มักไม่พบตามธรรมชาติ
- 4 : Standing wave สามารถพบเจอได้ตามธรรมชาติ เกิดจากการรวมตัวกันของคลื่นที่วิ่งสวนทางกัน
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 265 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 266 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 267 :
- อนุภาคน้ำที่อยู่ต่ำกว่าผิวหน้าน้ำเป็นระยะเกินกว่ากี่เท่าของความยาวคลื่น จึงถือว่าไม่ได้รับผลกระทบจากผิวหน้าน้ำอิสระเลย
- 1 : 1 เท่าของความยาวคลื่น
- 2 : 2 เท่าของความยาวคลื่น
- 3 : 3 เท่าของความยาวคลื่น
- 4 : 4 เท่าของความยาวคลื่น
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 268 :
- การเกิดคลื่นและการแพร่ของคลื่นเกิดขึ้นได้ด้วยปัจจัยสำคัญคือ
- 1 : ความเฉื่อยภายในของเหลว (Inertia of the Fluid) และความโน้มถ่วงของโลก
- 2 : ความเฉื่อยภายในของเหลว (Inertia of the Fluid)
- 3 : ความโน้มถ่วงของโลก
- 4 : แรงจากภายนอก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 269 :
- คลื่นประกอบด้วยส่วนที่เป็นพลังงานจลน์และพลังงานศักย์ การเคลื่อนที่ในลักษณะใดต่อไปนี้ ทำให้เกิดพลังงานจลน์
- 1 : การที่อนุภาคของน้ำถูกยกตัวสูงขึ้น
- 2 : การที่อนุภาคของน้ำเคลื่อนที่แบบโคจร
- 3 : การที่อนุภาคของน้ำเคลื่อนที่แบบโคจรและยกตัวสูงขึ้น
- 4 : ผิดทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 270 :
- จากข้อมูลความสูงคลื่น จำนวน 102 ลูก ถ้าต้องการหาค่าเฉลี่ยความสูงแบบมีค่านัยสำคัญ 1 ใน 3 ของคลื่นกลุ่มนี้จะต้องคำนวณอย่างไร ?
- 1 : เรียงความสูงจากมากไปน้อย แล้วนำ 67 ลูกแรกมาหาค่าเฉลี่ยความสูง
- 2 : เรียงความสูงจากมากไปน้อย แล้วนำ 34 ลูกแรกมาหาค่าเฉลี่ยความสูง
- 3 : หาค่าเฉลี่ยความสูงของคลื่นทั้งหมด แล้วเพิ่มค่าขึ้นอีก 33%
- 4 : หาค่าเฉลี่ยความสูงของคลื่นทั้งหมด แล้วลดค่าลงอีก 33%
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 271 :
- ที่ความเร็วลมระดับพายุเฮอริเคน ค่า Sea State มีค่าเท่าไร
- 1 : 7
- 2 : 8
- 3 : 9
- 4 : 10
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 272 :
- จากข้อมูลการบันทึกคลื่นแบบไม่แน่นอนจำนวน 100 ลูก ดังนี้ ความสูงคลื่น 1 เมตร จำนวน 10 ลูก ความสูงคลื่น 2 เมตร จำนวน 25 ลูก ความสูงคลื่น 3 เมตร จำนวน 30 ลูก ความสูงคลื่น 4 เมตร จำนวน 25 ลูก และความสูงคลื่น 5 เมตร จำนวน 10 ลูก จงคำนวณหาค่าความสูงเฉลี่ย
- 1 : 2.8 เมตร
- 2 : 3.0 เมตร
- 3 : 4.3 เมตร
- 4 : 5.0 เมตร
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 273 :
- จากข้อมูลการบันทึกคลื่นแบบไม่แน่นอนจำนวน 100 ลูก ดังนี้ ความสูงคลื่น 1 เมตร จำนวน 10 ลูก ความสูงคลื่น 2 เมตร จำนวน 15 ลูก ความสูงคลื่น 3 เมตร จำนวน 30 ลูก ความสูงคลื่น 4 เมตร จำนวน 25 ลูก และความสูงคลื่น 5 เมตร จำนวน 20 ลูก จงคำนวณหาค่าเฉลี่ยความสูงนัยสำคัญชนิด 1 ใน 3
- 1 : 2.8 เมตร
- 2 : 3.0 เมตร
- 3 : 4.3 เมตร
- 4 : 5.0 เมตร
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 274 :
- จากข้อมูลการบันทึกคลื่นแบบไม่แน่นอนจำนวน 100 ลูก ดังนี้ ความสูงคลื่น 1 เมตร จำนวน 10 ลูก ความสูงคลื่น 2 เมตร จำนวน 15 ลูก ความสูงคลื่น 3 เมตร จำนวน 30 ลูก ความสูงคลื่น 4 เมตร จำนวน 25 ลูก และความสูงคลื่น 5 เมตร จำนวน 20 ลูก จงคำนวณหาค่าเฉลี่ยความสูงนัยสำคัญชนิด 1 ใน 10
- 1 : 2.8 เมตร
- 2 : 3.0 เมตร
- 3 : 4.3 เมตร
- 4 : 5.0 เมตร
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 275 :
- จากข้อมูลการบันทึกคลื่นแบบไม่แน่นอนจำนวน 100 ลูก ดังนี้ ความสูงคลื่น 1 เมตร จำนวน 10 ลูก ความสูงคลื่น 2 เมตร จำนวน 15 ลูก ความสูงคลื่น 3 เมตร จำนวน 30 ลูก ความสูงคลื่น 4 เมตร จำนวน 25 ลูก และความสูงคลื่น 5 เมตร จำนวน 20 ลูก จงคำนวณหาค่าเฉลี่ยความสูงนัยสำคัญชนิด 1 ใน 100
- 1 : 2.8 เมตร
- 2 : 3.0 เมตร
- 3 : 4.3 เมตร
- 4 : 5.0 เมตร
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 276 :
- ข้อใดไม่ใช่ตัวแปรสำคัญที่มีผลต่อรูปร่างลักษณะของสเปกตรัมคลื่น
- 1 : ความเร็วลม
- 2 : ทิศทางที่ลมพัด
- 3 : ระยะทางที่ลมพัดผ่านผิวหน้าน้ำ
- 4 : ตำแหน่งของพายุที่อยู่ใกล้เคียง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 277 :
- สเปกตรัมคลื่นชนิดใดเหมาะสำหรับการนำไปใช้แทนสเปกตรัมของคลื่นในมหาสมุทรเปิด
- 1 : สเปกตรัมคลื่นของ Bretschneider
- 2 : สเปกตรัมคลื่นของ Pierson-Moskowitz
- 3 : สเปกตรัมคลื่นของ JONSWAP
- 4 : สเปกตรัมคลื่นของ Rayleigh
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 278 :
- สเปกตรัมคลื่นชนิดใดเหมาะที่จะใช้เป็นมาตรฐานสำหรับน่านน้ำซึ่งสนามลมได้รับอิทธิพลจากสภาพทางภูมิศาสตร์
- 1 : สเปกตรัมคลื่นของ Bretschneider
- 2 : สเปกตรัมคลื่นของ Pierson-Moskowitz
- 3 : สเปกตรัมคลื่นของ JONSWAP
- 4 : สเปกตรัมคลื่นของ Rayleigh
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
เนื้อหาวิชา : 281 : 4.Motion in Irregular Seaway
ข้อที่ 279 :
- ในการศึกษาการเคลื่อนที่แบบ Rolling ของเรือในคลื่นแบบไม่แน่นอนแห่งหนึ่ง วัดมุม Rolling ในลักษณะการโคลงจากกราบหนึ่งไปอีกกราบหนึ่ง (Peak to Peak) ดังนี้ มุมเอียง 1 องศา จำนวน 2 ครั้ง มุมเอียง 2 องศา จำนวน 40 ครั้ง มุมเอียง 3 องศา จำนวน 31 ครั้ง มุมเอียง 4 องศา จำนวน 25 ครั้ง มุมเอียง 5 องศา จำนวน 2 ครั้ง จงหาขนาดมุมโคลงเฉลี่ย (Average Roll)
- 1 : 0.05 องศา
- 2 : 0.42 องศา
- 3 : 1.28 องศา
- 4 : 2.85 องศา
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 280 :
- 1 : 0.364 องศา
- 2 : 0.367 องศา
- 3 : 0.16 องศา
- 4 : 0.151 องศา
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 281 :
- 1 : 0.241 องศา
- 2 : 0.286 องศา
- 3 : 0.581 องศา
- 4 : 0.586 องศา
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 282 :
- 1 : 0.884 องศา
- 2 : 0.745 องศา
- 3 : 0.739 องศา
- 4 : 0.365 องศา
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 283 :
- 1 : 0.402 องศา
- 2 : 0.405 องศา
- 3 : 0.976 องศา
- 4 : 0.983 องศา
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 284 :
- 1 : พื้นที่ภายใต้เส้นโค้งสเปกตรัมตอบสนองการเคลื่อนที่
- 2 : แอมปลิจูดเฉลี่ยของการโคลง
- 3 : แฟกเตอร์ปรับแก้ความกว้างของสเปกตรัม
- 4 : ฟังก์ชั่นความถี่ตอบสนอง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 285 :
- เมื่อได้สเปกตรัมคลื่น (Wave Spectrum) แล้ว ในการทำนายการเคลื่อนที่ของเรือในคลื่นไม่แน่นอน ควรทำสิ่งใดก่อน ?
- 1 : แปลงสเปกตรัมคลื่นให้เป็นฟังก์ชั่นของความถี่ปะทะ (Encountering Frequency)
- 2 : คำนวณหาขนาดพื้นที่ภายใต้สเปกตรัมคลื่น
- 3 : ปรับแก้ให้เป็นสเปกตรัมที่แจกแจงแบบ Normal Distribution
- 4 : สร้างสเปกตรัมตอบสนองการเคลื่อนที่ (Response Spectrum)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 286 :
- ข้อใดกล่าวผิด
- 1 : สามารถนำสเปกตรัมคลื่นชายฝั่ง (Coastal Wave Spectrum) ที่เหมาะสมกับพื้นที่ปฏิบัติงานเรือ มาพิจารณาลักษณะการตอบสนองการเคลื่อนที่ของเรือเล็กที่ปฏิบัติงานไกลฝั่งได้
- 2 : ถึงแม้จะใช้สเปกตรัมแตกต่างกัน การทำนายลักษณะการเคลื่อนที่เรือที่ยาวประมาณ 30 เมตรขึ้นไป จะไม่แตกต่างกัน
- 3 : สเปกตรัมตอบสนองการเคลื่อนที่ของเรือในคลื่นแบบไม่แน่นอนมีคุณสมบัติทางสถิติเช่นเดียวกับสเปกตรัมพลังงานของคลื่นนั้น
- 4 : ผิดทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 287 :
- โดยส่วนใหญ่แล้ว Spectrum แอมปลิจูดการเคลื่อนที่ (Motion Amplitude Spectrum) แบบ Rolling มีลักษณะอย่างไร
- 1 : แคบ
- 2 : กว้าง
- 3 : กว้างและเตี้ย
- 4 : กว้างและสูง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 288 :
- 1 : 4.12 deg
- 2 : 5.37 deg
- 3 : 6.18 deg
- 4 : 7.90 deg
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 289 :
- 1 : 8.2 deg
- 2 : 8.5 deg
- 3 : 9.0 deg
- 4 : 9.3 deg
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 290 :
- 1 : 6.66 deg
- 2 : 7.02 deg
- 3 : 7.85 deg
- 4 : 8.82 deg
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 291 :
- 1 : 8.5 deg
- 2 : 9.0 deg
- 3 : 9.5 deg
- 4 : 10.0 deg
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 292 :
- 1 : 1.50 deg
- 2 : 2.90 deg
- 3 : 4.35 deg
- 4 : 5.79 deg
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 293 :
- 1 : 14.15 %
- 2 : 28.30 %
- 3 : 56.6 %
- 4 : 83.3 %
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 294 :
- 1 : 7.08 %
- 2 : 14.16 %
- 3 : 28.32 %
- 4 : 42.00 %
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 295 :
- ข้อใดเป็นขั้นตอนในการทำนายการเคลื่อนที่แบบไม่แน่นอน
- 1 : เลือกสเปกตรัมคลื่นที่เหมาะสมกับพื้นน้ำที่ต้องการ
- 2 : แปลงสเปกตรัมคลื่นให้เป็นฟังก์ชั่นความถี่ของการปะทะ
- 3 : พล็อตสเปกตรัมตอบสนองการเคลื่อนที่ของเรือ
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 296 :
- 1 : ระดับพลังงานรวมคงเดิมเสมอ
- 2 : แอมปลิจูดเท่ากัน
- 3 : ความถี่คลื่นเท่ากัน
- 4 : ผิดทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 297 :
- 1 : Response Amplitude Operators (ROA)
- 2 : สเปกตรัมการแปลง (Transform Spectrum)
- 3 : ถูกทั้งสองข้อ
- 4 : ผิดทั้งสองข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 298 :
- การหา ROA ด้วยการทดลองด้วยเรือจำลองทำได้อย่างไร
- 1 : ทดลองในคลื่นแบบปกติ (Regular Waves) ที่มีขนาดแอมปลิจูดคงที่ แต่ความยาวคลื่นต่างกัน
- 2 : ทดลองในคลื่นแบบปกติ (Regular Waves) ที่มีขนาดแอมปลิจูดต่างกัน แต่ความยาวคลื่นคงที่
- 3 : ทดลองในคลื่นแบบไม่แน่นอน (Irregular Waves) ที่มีขนาดแอมปลิจูดคงที่ แต่ความยาวคลื่นต่างกัน
- 4 : ทดลองในคลื่นแบบไม่แน่นอน (Irregular Waves) ที่มีขนาดแอมปลิจูดต่างกัน แต่ความยาวคลื่นคงที่
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 299 :
- อะไรคือประโยชน์ของการทำนายขนาดสูงสุดของแอมปลิจูดการเคลื่อนที่ในคลื่นแบบไม่แน่นอน ภายในช่วงเวลาจำกัดหนึ่ง ๆ
- 1 : ใช้ในขั้นตอนการออกแบบเรือ
- 2 : ศึกษาเกี่ยวกับแรงจากคลื่นที่มีผลต่อสมรรถนะของเรือ
- 3 : ศึกษาผลกระทบที่มีต่อโครงสร้างเรือ
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 300 :
- 1 : 127 ครั้ง
- 2 : 137 ครั้ง
- 3 : 147 ครั้ง
- 4 : 157 ครั้ง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 301 :
- 1 : 6.872
- 2 : 8.035
- 3 : 10.861
- 4 : 12.456
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 302 :
- 1 : แอมปลิจูดคลื่น
- 2 : ความสูงคลื่น
- 3 : ความสูงแบบมีนัยสำคัญ
- 4 : ไม่มีข้อใดถูก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 303 :
- 1 : คาบเวลาเฉลี่ยคลื่น
- 2 : ความยาวคลื่น
- 3 : คาบเวลาแบบ Zero Crossing
- 4 : คาบเวลาแบบ Crest to Crest
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 304 :
- 1 : คาบเวลาเฉลี่ยคลื่น
- 2 : ความยาวคลื่น
- 3 : คาบเวลาแบบ Zero Crossing
- 4 : คาบเวลาแบบ Crest to Crest
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 305 :
- หน่วยวัดสถานะความเร็วลมในทะเลคือ
- 1 : Fathom
- 2 : Point
- 3 : Beaufort
- 4 : Wave Spectrum
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 306 :
- หน่วยวัดสภาพผิวหน้าทะเลคือ
- 1 : Fathom
- 2 : Point
- 3 : Wave Spectrum
- 4 : Sea State
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 307 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 :
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 308 :
- 1 :
- 2 :
- 3 : อ่านจาก Bretschneider Spectrum
- 4 : อ่านจาก Normalized Bretschneider Spectrum
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 309 :
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 : ไม่มีข้อใดถูก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 310 :
- ถ้า Histogram ของข้อมูลความสูงคลื่นกระจายแบบ Rayleigh Distribution ในการนำไปใช้งานจะต้องปรับแก้ด้วยค่า Correction Factor (CF) เท่าใด
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 311 :
- ถ้า Histogram ของข้อมูลความสูงคลื่นจำนวน n คลื่น ที่ไม่กระจายแบบ Rayleigh Distribution ในการนำไปใช้งานจะต้องปรับแก้ด้วยค่า Correction Factor (CF) เท่าใด
- 1 :
- 2 :
- 3 :
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 312 :
- ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการหาความสูงคลื่นแบบมีนัยสำคัญของคลื่นจำนวนหนึ่ง
- 1 : ค่าเฉลี่ยความสูงคลื่นแบบนัยสำคัญ 1 ใน 3 สูงกว่าแบบ 1 ใน 10
- 2 : ค่าเฉลี่ยความสูงคลื่นแบบนัยสำคัญ 1 ใน 3 น้อยกว่าแบบ 1 ใน 10
- 3 : ค่าเฉลี่ยความสูงคลื่นแบบนัยสำคัญต่างๆ ล้วนเท่ากัน
- 4 : ในการหาค่าเฉลี่ยความสูงแบบนัยสำคัญ 1 ใน 10 ต้องมีคลื่นสมบูรณ์อย่างน้อย 10 ลูก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 313 :
- ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับการหาความถี่คลื่นแบบมีนัยสำคัญของคลื่นจำนวนหนึ่ง
- 1 : ความถี่เฉลี่ยแบบมีนัยสำคัญ 1 ใน 3 สูงกว่า แบบ 1 ใน 10
- 2 : ความถี่เฉลี่ยแบบมีนัยสำคัญ 1 ใน 3 ต่ำกว่า แบบ 1 ใน 10
- 3 : ความถี่เฉลี่ยแบบมีนัยสำคัญ 1 ใน 3 ต้องเท่ากับแบบ 1 ใน 10
- 4 : ความถี่เฉลี่ยแบบมีนัยสำคัญ 1 ใน 10 มีค่าสูงสุด
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 314 :
- เมื่อเปรียบเทียบความสูงเฉลี่ยแบบมีนัยสำคัญของคลื่นกลุ่มเดียวกันจะพบว่า
- 1 : ความสูงเฉลี่ยแบบมีนัยสำคัญ 1 ใน 3 สูงกว่าแบบ 1 ใน 10 เล็กน้อย
- 2 : ความสูงเฉลี่ยแบบมีนัยสำคัญ 1 ใน 3 สูงกว่าแบบ 1 ใน 10 มาก
- 3 : ความสูงเฉลี่ยแบบมีนัยสำคัญ 1 ใน 100 สูงกว่าแบบ 1 ใน 10 และ 1 ใน 3 ตามลำดับ
- 4 : ความสูงเฉลี่ยแบบมีนัยสำคัญ 1 ใน 100 น้อยกว่าแบบ 1 ใน 10 และ 1 ใน 3 ตามลำดับ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 315 :
- ในการหาความสูงเฉลี่ยของคลื่นสมบูรณ์จำนวน 149 ลูก ข้อใดกระทำถูกต้อง
- 1 : ความสูงเฉลี่ยแบบไม่มีนัยสำคัญจะคำนวณจากคลื่น 100 ลูก
- 2 : ความสูงเฉลี่ยแบบมีนัยสำคัญ 1 ใน 3 จะคำนวณจากคลื่น 49 ลูก
- 3 : ความสูงเฉลี่ยแบบมีนัยสำคัญ 1 ใน 10 จะคำนวณจากคลื่น 14.9 ลูก
- 4 : ความสูงเฉลี่ยแบบมีนัยสำคัญ 1 ใน 100 จะคำนวณจากคลื่น 1 ลูก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 316 :
- ถ้าพล๊อตแอมปลิจูดคลื่นที่เกิดขึ้นตรงจุดหนึ่งในทะเลช่วงเวลาหนึ่ง จะพบว่า
- 1 : ระยะในกราฟระหว่างยอดคลื่นสมบูรณ์ถึงยอดคลื่นสมบูรณ์ลูกถัดไป คือความยาวคลื่น
- 2 : ระยะในกราฟจากยอดคลื่นหนึ่งถึงแนวระดับคือความสูงคลื่นลูกนั้น
- 3 : ระยะในกราฟระหว่างยอดคลื่นสมบูรณ์ถึงยอดคลื่นสมบูรณ์ลูกถัดไปคือคาบเวลา
- 4 : ไม่มีข้อใดถูก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 317 :
- 1 : ความยาวคลื่น
- 2 : ความยาวเฉลี่ยคลื่น
- 3 : คาบเวลาคลื่น
- 4 : คาบเวลาเฉลี่ยคลื่น
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 318 :
- 1 : คาบเวลาคลื่น
- 2 : คาบเวลาเฉลี่ยคลื่น
- 3 : ความยาวคลื่น
- 4 : ไม่มีข้อใดถูก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 319 :
- 1 : 1 ครั้ง
- 2 : 2 ครั้ง
- 3 : 3 ครั้ง
- 4 : 4 ครั้ง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 320 :
- 1 : 1 ครั้ง
- 2 : 2 ครั้ง
- 3 : 3 ครั้ง
- 4 : 4 ครั้ง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 321 :
- 1 : ระยะ A คือ Extreme Value ของแอมปลิจูดคลื่น
- 2 : ระยะ B คือ Extreme Value ของบรรดาคลื่น
- 3 : ระยะ C คือ Extreme Value ของความเร็วคลื่น
- 4 : ระยะ D คือ Extreme Value ของความยาวคลื่น
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 322 :
- 1 : เป็นคลื่นแบบ Irregular Waves
- 2 : มีคลื่นสมบูรณ์ 2 ลูก
- 3 : มีคลื่นไม่สมบูรณ์ 5 ลูก
- 4 : ระยะ A คือขนาด Amplitude ของคลื่นชุดนี้
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 323 :
- 1 : เป็นคลื่นแบบ Regular Waves
- 2 : มีคลื่นสมบูรณ์ 6 ลูก
- 3 : มีคลื่นไม่สมบูรณ์ 5 ลูก
- 4 : ระยะ C คือคาบเวลาเฉลี่ยของคลื่นชุดนี้
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 324 :
- 1 : เป็นคลื่นแบบ Irregular Waves
- 2 : มีคลื่นสมบูรณ์ 6 ลูก
- 3 : จุด B คือ Extreme Value ของความสูงคลื่นชุดนี้
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 325 :
- 1 : ความสูงเฉลี่ยคลื่นคิดเฉลี่ยจากคลื่นสมบูรณ์ จำนวน 6 ลูก
- 2 : ความสูงเฉลี่ยคลื่นคิดเฉลี่ยจากคลื่นสมบูรณ์ จำนวน 3 ลูก
- 3 : คาบเวลาเฉลี่ยคลื่นคิดเฉลี่ยจากคลื่นสมบูรณ์ จำนวน 3 ลูก
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 326 :
- ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการการหา Response Amplitude Operator (ROA) ด้วยการทดลองด้วยเรือจำลอง
- 1 : ทดลองเรือจำลองในคลื่นแบบปกติ (Regular Waves) ที่มีความยาวคลื่นต่างกัน
- 2 : ทดลองเรือจำลองในคลื่นแบบปกติ (Regular Waves) ที่มี Amplitude คงที่ แต่ความยาวคลื่นต่างกัน
- 3 : ทดลองเรือจำลองในคลื่นแบบไม่แน่นอน (Irregular Waves) ที่มี Amplitude คงที่ แต่ความยาวคลื่นต่างกัน
- 4 : ไม่สามารถกระทำได้โดยการทดลองเรือจำลอง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 327 :
- ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ Response Amplitude Operator (ROA) ของเรือต่อคลื่นแบบไม่แน่นอน
- 1 : คืออัตราส่วนระหว่างความถี่ปะทะ (Encountering Frequency) กับ ความถี่คลื่น (Wave Frequency)
- 2 : คืออัตราส่วนระหว่างความถี่ปะทะ (Encountering Frequency) ยกกำลังสองกับ ความถี่คลื่น (Wave Frequency) ยกกำลังสอง
- 3 : คืออัตราส่วนกำลังสองระหว่างขนาด Amplitude ตอบสนองการเคลื่อนที่ใด ๆ กับ Amplitude คลื่น
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 328 :
- ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ Response Amplitude Operator (ROA) ของเรือต่อคลื่นแบบไม่แน่นอน
- 1 : คืออัตราส่วนระหว่างความถี่ปะทะ (Encountering Frequency) กับ ความถี่คลื่น (Wave Frequency)
- 2 : คืออัตราส่วนระหว่างความถี่ปะทะ (Encountering Frequency) ยกกำลังสองกับ ความถี่คลื่น (Wave Frequency) ยกกำลังสอง
- 3 : คืออัตราส่วนระหว่าง Amplitude ตอบสนองการเคลื่อนที่ใด ๆ กับ Amplitude คลื่น
- 4 : ผิดทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 329 :
- เราจะหา Response Amplitude Operator (ROA) ที่ใช้ทำนายการเคลื่อนที่ของเรือในทะเลแบบคลื่นไม่แน่นอน (Irregular Seaway) ได้อย่างไร
- 1 : ทดลองเรือจำลองในคลื่นแบบปกติ (Regular Waves) ที่มีความยาวคลื่นต่างกัน
- 2 : ทดลองเรือจำลองในคลื่นแบบปกติ (Regular Waves) ที่มี Amplitude คงที่ แต่ความยาวคลื่นต่างกัน
- 3 : ทดลองเรือจำลองในคลื่นแบบไม่แน่นอน (Irregular Waves) ที่มี Amplitude คงที่ แต่ความยาวคลื่นต่างกัน
- 4 : สามารถกระทำได้โดยการทดลองเรือจำลองแต่ต้องจำลองคลื่นแบบไม่แน่นนอน (Irregular Waves) ให้เหมือนสภาพจริงมากที่สุด
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 330 :
- ถ้าทราบ Response Amplitude Operator (ROA) ตอบสนองของการเคลื่อนที่ของเรือต่อคลื่นแบบปกติ (Regular Wave) จะทำนายการเคลื่อนที่ของเรือในทะเลแบบคลื่นไม่แน่นอน (Irregular Seaway) ได้อย่างไร
- 1 : นำ RAO ที่ได้คูณกับ สเปกตรัมคลื่นในฟังก์ชั่นความถี่ปะทะ (Encountering Wave Spectrum)
- 2 : นำ RAO ที่ได้คูณกับ สเปกตรัมคลื่น (Wave Spectrum)
- 3 : แปลง RAO ให้เป็นสเปกตรัมในฟังก์ชั่นความถี่ปะทะ (Encountering Spectrum) แล้วคูณกับ สเปกตรัมคลื่น (Wave Spectrum)
- 4 : ไม่สามารถกระทำได้เพราะเป็น ROA ตอบสนองของการเคลื่อนที่ของเรือต่อคลื่นแบบปกติ (Regular Wave)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 331 :
- ถ้าทราบ สเปกตรัมคลื่นในฟังก์ชั่นความถี่ปะทะ (Encountering Wave Spectrum) และ Response Amplitude Operator (ROA) ตอบสนองของการเคลื่อนที่ของเรือต่อคลื่นแบบปกติ (Regular Wave) จะทำนายการเคลื่อนที่ของเรือในทะเลแบบคลื่นไม่แน่นอน (Irregular Seaway) ได้อย่างไร
- 1 : นำ RAO ที่ได้คูณกับ สเปกตรัมคลื่น (Wave Spectrum)
- 2 : นำ RAO คูณกับ สเปกตรัมคลื่นในฟังก์ชั่นความถี่ปะทะ (Encountering Wave Spectrum)
- 3 : แปลง RAO ให้เป็นสเปกตรัมในฟังก์ชั่นความถี่ปะทะ (Encountering Spectrum) แล้วคูณกับ สเปกตรัมคลื่นในฟังก์ชั่นความถี่ปะทะ (Encountering Wave Spectrum)
- 4 : ไม่สามารถกระทำได้เพราะเป็น ROA ตอบสนองของการเคลื่อนที่ของเรือต่อคลื่นแบบปกติ (Regular Wave)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 332 :
- ถ้าทราบ สเปกตรัมคลื่น (Wave Spectrum) และ Response Amplitude Operator (ROA) ตอบสนองของการเคลื่อนที่ของเรือต่อคลื่นแบบปกติ (Regular Wave) จะทำนายการเคลื่อนที่ของเรือในทะเลแบบคลื่นไม่แน่นอน (Irregular Seaway) ได้อย่างไร
- 1 : นำ RAO ที่ได้คูณกับ สเปกตรัมคลื่น (Wave Spectrum)
- 2 : แปลง RAO ให้เป็นสเปกตรัมในฟังก์ชั่นความถี่ปะทะ (Encountering Spectrum) แล้วคูณกับ สเปกตรัมคลื่นในฟังก์ชั่นความถี่ปะทะ (Encountering Wave Spectrum)
- 3 : แปลงสเปกตรัมคลื่น (Wave Spectrum) ให้เป็นสเปกตรัมคลื่นในฟังก์ชั่นความถี่ปะทะ (Encountering Wave Spectrum) แล้วคูณกับ RAO
- 4 : ไม่สามารถกระทำได้เพราะเป็น ROA ตอบสนองของการเคลื่อนที่ของเรือต่อคลื่นแบบปกติ (Regular Wave)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 333 :
- ถ้าไม่ทราบ สเปกตรัมคลื่น (Wave Spectrum) แต่มี Response Amplitude Operator (ROA) ตอบสนองของการเคลื่อนที่ของเรือต่อคลื่นแบบปกติ (Regular Wave) จะทำนายการเคลื่อนที่ของเรือในทะเลแบบคลื่นไม่แน่นอน (Irregular Seaway) ได้อย่างไร
- 1 : นำ RAO ที่มีไปใช้แทนได้
- 2 : แปลง RAO ให้เป็นสเปกตรัมในฟังก์ชั่นความถี่ปะทะ (Encountering Spectrum) แล้วนำไปใช้แทนได้
- 3 : เลือกสเปกตรัมคลื่น จากสเปกตรัมคลื่นมาตรฐาน(Standard Spectrum) ที่เหมาะสม แปลงให้เป็นสเปกตรัมคลื่นในฟังก์ชั่นความถี่ปะทะ (Encountering Wave Spectrum) แล้วคูณกับ RAO
- 4 : ไม่สามารถกระทำได้เพราะเป็น ROA ตอบสนองของการเคลื่อนที่ของเรือต่อคลื่นแบบปกติ (Regular Wave)
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 334 :
- ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ลักษณะการเคลื่อนที่แบบแกว่งไปมา
- 1 : Surging, Swaying, Heaving
- 2 : Yawing, Swaying, Pitching
- 3 : Heaving, Rolling, Pitching
- 4 : Yawing, Swaying, Surging
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 335 :
- ข้อใดต่อไปนี้เป็นลักษณะการเคลื่อนที่แบบแกว่งไปมา
- 1 : Surging, Swaying, Heaving
- 2 : Yawing, Swaying, Pitching
- 3 : Heaving, Rolling, Pitching
- 4 : Yawing, Swaying, Surging
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 336 :
- การที่เรือเคลื่อนที่ในลักษณะ Heaving นั้น จะประกอบด้วยแรงหลัก ๆ ที่กระทำกับตัวเรือ กล่าวคือ
- 1 : แรงกระทำจากภายนอก (Exciting Force), แรง Damping
- 2 : แรงกระทำจากภายนอก (Exciting Force), แรง Damping, แรง Inertia
- 3 : แรงกระทำจากภายนอก (Exciting Force), แรง Inertia, แรง Restoring
- 4 : แรงกระทำจากภายนอก (Exciting Force), แรง Damping, แรง Inertia, แรง Restoring
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 337 :
- ถ้าเรือจำลองขนาดยาว 4 เมตร ลำหนึ่งมีคาบเวลาของการเคลื่อนที่แบบ Heaving เท่ากับ 3 วินาที จงคำนวณหาคาบเวลาของการเคลื่อนที่ของเรือจริง ขนาดยาว 400 เมตร
- 1 : 10 วินาที
- 2 : 20 วินาที
- 3 : 30 วินาที
- 4 : 40 วินาที
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 338 :
- จงหาขนาดความยาวของเรือจริง ถ้าหากการเคลื่อนที่แบบ Heaving ของเรือจริงและเรือจำลองขนาด 2 เมตร มี คาบเวลาเท่ากับ 15 วินาที และ 1 วินาที ตามลำดับ
- 1 : 125 เมตร
- 2 : 225 เมตร
- 3 : 350 เมตร
- 4 : 450 เมตร
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 339 :
- การที่เรือเคลื่อนที่ในลักษณะ Pitching นั้น จะประกอบด้วยโมเมนต์หลัก ๆ ที่กระทำกับตัวเรือ กล่าวคือ
- 1 : Inertial Moment, Damping Moment
- 2 : Inertial Moment, Damping Moment, Restoring Moment
- 3 : Inertial Moment, Damping Moment, Exciting Moment
- 4 : Inertial Moment, Damping Moment, Restoring Moment, Exciting Moment
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 340 :
- ย่านความเร็วการใช้งานของเรือ แบ่งออกเป็น 3 ย่าน กล่าวคือ ย่านก่อนวิกฤต (Subcritical Zone) ย่านวิกฤต (Critical Zone) และย่านเหนือวิกฤต (Supercritical Zone) การที่เรือจะปฏิบัติการในย่านใดย่านหนึ่งขึ้นอยู่กับตัวแปรอะไรบ้าง
- 1 : ความเร็วและลักษณะที่เรือแล่นเข้าหาคลื่น
- 2 : Froude Number และลักษณะที่เรือแล่นเข้าหาคลื่น
- 3 : Froude Number และแอมปลิจูดของคลื่น
- 4 : แอมปลิจูดของคลื่นและลักษณะที่เรือแล่นเข้าหาคลื่น
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 341 :
- ความสูงนัยสำคัญ (Significant wave height) ชนิด 1 ใน 3 มีความหมายอย่างไร
- 1 : ค่าเฉลี่ยความสูงของคลื่นจาก 1 ใน 3 ของคลื่นที่มีขนาดต่ำสุดทั้งหมดโดยไม่รวมคลื่นที่มีขนาดเล็กกว่า 1 ฟุต มาคิด
- 2 : ค่าเฉลี่ยความสูงของคลื่นจาก 1 ใน 3 ของคลื่นที่มีขนาดสูงสุดทั้งหมดโดยไม่รวมคลื่นที่มีขนาดเล็กกว่า 1 ฟุต มาคิด
- 3 : ค่าเฉลี่ยความสูงของคลื่นจาก 1 ใน 3 ของคลื่นที่มีขนาดต่ำสุดทั้งหมด
- 4 : ค่าเฉลี่ยความสูงของคลื่นจาก 1 ใน 3 ของคลื่นที่มีขนาดสูงสุดทั้งหมด
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 342 :
- การทำนายขนาดสูงสุดของแอมปลิจูดการเคลื่อนที่ในคลื่นแบบไม่แน่นอน สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการคำนวณด้านใดมากที่สุด
- 1 : การศึกษาเกี่ยวกับแรงจากคลื่น ที่มีผลต่อโครงสร้างของเรือ
- 2 : การทรงตัวของเรือ
- 3 : ความคงทนทะเล
- 4 : ความเร็วในการเคลื่อนที่ของเรือและผลกระทบ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 343 :
- การเคลื่อนที่ของเรือในลักษณะใด ที่ไม่มี Restoring Force หรือ Moment
- 1 : Swaying, Yawing
- 2 : Heaving, Swaying, Yawing
- 3 : Yawing, Swaying, Surging
- 4 : Swaying, Surging
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 344 :
- การศึกษาการเคลื่อนที่ของเรือ ที่มีรูปทรงตัวเรือคล้ายกันทั้งสองกราบ ในการพิจารณาความคงทนทะเล (Seakeeping) การเคลื่อนที่ในลักษณะใด ที่ไม่ถูกนำมาพิจารณา
- 1 : Yawing
- 2 : Swaying
- 3 : Surging
- 4 : Heaving
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 345 :
- การศึกษาการเคลื่อนที่ของเรือ ในเรื่อง Manoeuvering and Control เป็นการศึกษาการเคลื่อนที่ของเรือในลักษณะใด
- 1 : Swaying, Surging
- 2 : Yawing, Swaying
- 3 : Yawing, Surging
- 4 : Yawing, Swaying, Surging
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 346 :
- ข้อใดอธิบายความหมายของคำว่า Resonance Regionได้ดีที่สุด
- 1 : เป็นย่านเมื่อ Exciting Frequency มีค่าเท่ากับความถี่ธรรมชาติของระบบ (Natural Frequency)
- 2 : เป็นย่านเมื่ออัตราส่วนระหว่าง Exciting Frequency กับ ความถี่ธรรมชาติของระบบ (Natural Frequency) มีค่าเท่ากับ 1
- 3 : เป็นย่านเมื่อ Tuning Factor มีค่าเท่ากับ 1
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 347 :
- ในการทำนายลักษณะการเคลื่อนที่ของเรือโดยทั่วไปจะแตกต่างกัน เนื่องจากใช้สเปกตรัมของคลื่นที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับบริเวณพื้นที่ที่ต้องการคำนวณ อย่างไรก็ตาม การเคลื่อนที่ของเรือจะไม่แตกต่างกันมาก หากขนาดความยาวของเรือมีมากกว่าเท่าใด แม้ว่าจะใช้สเปกตรัมของคลื่นที่แตกต่างกัน
- 1 : 300 ฟุต
- 2 : 400 ฟุต
- 3 : 500 ฟุต
- 4 : 600 ฟุต
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 348 :
- การทำนายการตอบสนองการเคลื่อนที่ของเรือในคลื่นแบบไม่แน่นอนด้วยการใช้ฟังก์ชั่น RAO จะถูกต้องและมีความมั่นยำก็ต่อเมื่อ RAO นั้นหามาจาก
- 1 : ข้อมูลทางสถิติ
- 2 : การทดลองเรือจำลองในคลื่นแบบปกติที่มีขนาดไม่ใหญ่
- 3 : การกระจายข้อมูลแบบ Rayleigh
- 4 : Spectral Method
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 349 :
- สเปกตรัมตอบสนอง (Response Spectrum) คืออะไร
- 1 : เส้นโค้งสเปกตรัมที่สร้างขึ้นจากทิศทางตอบสนองการเคลื่อนที่
- 2 : เส้นโค้งสเปกตรัมที่สร้างขึ้นจากความเร็วตอบสนองการเคลื่อนที่
- 3 : เส้นโค้งสเปกตรัมที่สร้างขึ้นจากขนาดแอมปลิจูดตอบสนองการเคลื่อนที่
- 4 : เส้นโค้งสเปกตรัมที่สร้างขึ้นจากความถี่ตอบสนองการเคลื่อนที่
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 350 :
- ในการศึกษาการเคลื่อนที่แบบ Rolling ของเรือในคลื่นแบบไม่แน่นอนแห่งหนึ่ง วัดมุม Rolling ในลักษณะการโคลงจากกราบหนึ่งไปอีกกราบหนึ่ง (Peak to Peak) ดังนี้ มุมเอียง 1 องศา จำนวน 5 ครั้ง มุมเอียง 2 องศา จำนวน 30 ครั้ง มุมเอียง 3 องศา จำนวน 20 ครั้ง มุมเอียง 4 องศา จำนวน 25 ครั้ง มุมเอียง 5 องศา จำนวน 20 ครั้ง จงหาขนาดมุมโคลงเฉลี่ย (Average Roll)
- 1 : 0.50 องศา
- 2 : 3.25 องศา
- 3 : 4.60 องศา
- 4 : 5.00 องศา
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 351 :
- ในการศึกษาการเคลื่อนที่แบบ Rolling ของเรือในคลื่นแบบไม่แน่นอนแห่งหนึ่ง วัดมุม Rolling ในลักษณะการโคลงจากกราบหนึ่งไปอีกกราบหนึ่ง (Peak to Peak) ดังนี้ มุมเอียง 1 องศา จำนวน 5 ครั้ง มุมเอียง 2 องศา จำนวน 30 ครั้ง มุมเอียง 3 องศา จำนวน 20 ครั้ง มุมเอียง 4 องศา จำนวน 25 ครั้ง มุมเอียง 5 องศา จำนวน 20 ครั้ง จงหาขนาดมุมโคลงนัยสำคัญ (Significant Roll)
- 1 : 0.50 องศา
- 2 : 3.25 องศา
- 3 : 4.60 องศา
- 4 : 5.00 องศา
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 352 :
- ในการศึกษาการเคลื่อนที่แบบ Rolling ของเรือในคลื่นแบบไม่แน่นอนแห่งหนึ่ง วัดมุม Rolling ในลักษณะการโคลงจากกราบหนึ่งไปอีกกราบหนึ่ง (Peak to Peak) ดังนี้ มุมเอียง 1 องศา จำนวน 5 ครั้ง มุมเอียง 2 องศา จำนวน 30 ครั้ง มุมเอียง 3 องศา จำนวน 20 ครั้ง มุมเอียง 4 องศา จำนวน 25 ครั้ง มุมเอียง 5 องศา จำนวน 20 ครั้ง จงหาขนาดมุมโคลงนัยสำคัญแบบ1 ใน 10 (One-Tenth Highest)
- 1 : 0.50 องศา
- 2 : 3.25 องศา
- 3 : 4.60 องศา
- 4 : 5.00 องศา
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 353 :
- ในการศึกษาการเคลื่อนที่แบบ Rolling ของเรือในคลื่นแบบไม่แน่นอนแห่งหนึ่ง วัดมุม Rolling ในลักษณะการโคลงจากกราบหนึ่งไปอีกกราบหนึ่ง (Peak to Peak) ดังนี้ มุมเอียง 1 องศา จำนวน 5 ครั้ง มุมเอียง 2 องศา จำนวน 30 ครั้ง มุมเอียง 3 องศา จำนวน 20 ครั้ง มุมเอียง 4 องศา จำนวน 25 ครั้ง มุมเอียง 5 องศา จำนวน 20 ครั้ง จงหาขนาดมุมโคลงนัยสำคัญแบบ1 ใน 100 (One-Hundredth Highest)
- 1 : 0.50 องศา
- 2 : 3.25 องศา
- 3 : 4.60 องศา
- 4 : 5.00 องศา
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 354 :
- ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนในการทำนายการเคลื่อนที่แบบไม่แน่นอน
- 1 : เลือกสเปกตรัมคลื่นที่เหมาะสมกับพื้นน้ำที่ต้องการ
- 2 : แปลงสเปกตรัมคลื่นให้เป็นฟังก์ชั่นทิศทางของการปะทะ
- 3 : พล็อตสเปกตรัมตอบสนองการเคลื่อนที่ของเรือ
- 4 : สร้างสเปกตรัมตอบสนองการเคลื่อนที่ของเรือ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 355 :
- ถ้าทราบความหนาแน่นสเปกตรัมคลื่น และ RAO ของเรือ จะสามารถคำนวณหาค่าใดได้
- 1 : ROA ของคลื่น
- 2 : ฟังก์ชั่นทิศทางของการปะทะ
- 3 : มุมโคลงนัยสำคัญ
- 4 : ความหนาแน่นสเปกตรัมตอบสนองการเคลื่อนที่ของเรือ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 356 :
- ถ้าเรือจำลองขนาดยาว 4 เมตร ลำหนึ่งมีคาบเวลาของการเคลื่อนที่แบบ Heaving เท่ากับ 2 วินาที จงคำนวณหาคาบเวลาของการเคลื่อนที่ของเรือจริง ขนาดยาว 100 เมตร
- 1 : 10 วินาที
- 2 : 20 วินาที
- 3 : 30 วินาที
- 4 : 40 วินาที
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 357 :
- จงหาขนาดความยาวของเรือจริง ถ้าหากการเคลื่อนที่แบบ Heaving ของเรือจริงและเรือจำลองขนาด 1.6 เมตร มี คาบเวลาเท่ากับ 20 วินาที และ 2 วินาที ตามลำดับ
- 1 : 64 เมตร
- 2 : 128 เมตร
- 3 : 160 เมตร
- 4 : 200 เมตร
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
เนื้อหาวิชา : 282 : 5.Dynamic Effects
ข้อที่ 358 :
- ผลของไดนามิก (Dynamic Effects) ที่มีต่อเรือในการเคลื่อนที่ทางดิ่ง (Vertical Effects) เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเคลื่อนที่แบบใด
- 1 : Heaving, Pitching
- 2 : Rolling, Yawing
- 3 : Heaving, Yawing
- 4 : Rolling, Pitching
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 359 :
- ผลของไดนามิก (Dynamic Effects) ที่มีต่อเรือในการโคลงของเรือ (Rolling Effects) เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเคลื่อนที่แบบใด
- 1 : Heaving, Pitching
- 2 : Rolling, Yawing
- 3 : Heaving, Yawing
- 4 : Rolling, Heaving
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 360 :
- ในการศึกษาพลศาสตร์การเคลื่อนที่ของเรือในคลื่นแบบไม่แน่นอน (Motion in Irregular Seaway) จะต้องพิจารณาสิ่งใด
- 1 : ความถี่ของการเกิดดาดฟ้าเปียก (Deck Wetness) และการกระแทกระหว่างเรือกับคลื่น (Slamming)
- 2 : ขนาดของแรงกดที่เกิดจากการกระแทกแบบฉับพลัน (Impact Pressure Caused by Slamming)
- 3 : ระดับความรุนแรงของการที่น้ำเปียกดาดฟ้า
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 361 :
- ความเร็วในการเคลื่อนที่ทางดิ่งที่บริเวณใดๆของเรือ มักคำนวณสัมพันธ์กับจุดอ้างอิงใดของเรือ
- 1 : จุดCG
- 2 : จุดLCB
- 3 : จุดท้องเรือที่หัว
- 4 : จุดที่เกิด Slamming สูงสุด
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 362 :
- ความเร็วการเคลื่อนที่ทางดิ่งตรงจุดใด ๆ ของเรือ มีความเร็วการเคลื่อนที่อิสระแบบใดเป็นองค์ประกอบหลัก
- 1 : การเคลื่อนที่ แบบ Heaving และ Slamming
- 2 : การเคลื่อนที่ แบบ Heaving และ Pitching
- 3 : การเคลื่อนที่ แบบ Heaving และ Yawing
- 4 : การเคลื่อนที่ แบบ Surging และ Slamming
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 363 :
- อัตราเร่งของจุดใดๆที่บริเวณหัวเรือ มักคำนวณสัมพันธ์กับสิ่งใด
- 1 : จุดต่ำสุดของเรือที่หัวเรือ
- 2 : จุดสูงสุดของเรือที่หัวเรือ
- 3 : ระดับผิวหน้าน้ำแต่ละขณะ
- 4 : จุด CG ของเรือ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 364 :
- 1 : 2 เท่าของแอมปลิจูดการเคลื่อนที่, ความเร็ว และอัตราเร่ง
- 2 : ความสูงคลื่นและ 2 เท่าแอมปลิจูดการเคลื่อนที่
- 3 : แอมปลิจูดคลื่น และ 2 เท่าแอมปลิจูดอัตราเร่ง
- 4 : ความสูงคลื่น และ 2 เท่าแอมปลิจูดอัตราเร่ง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 365 :
- การศึกษาการเคลื่อนที่สัมพันธ์ที่หัวเรือ (Relative Bow Motion) จะให้ความสนใจ 2 ลักษณะการเคลื่อนที่ใดเป็นพิเศษ
- 1 : Deck Wetness และ Surging
- 2 : Slamming และ ความเร็วทางดิ่งของหัวเรือ
- 3 : Fore Deck Immersion และ Forefoot Emergence
- 4 : Swell-up ของผิวหน้าน้ำ และอัตราเร่งทางดิ่งของหัวเรือ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 366 :
- ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับความเปียกของดาดฟ้า (Deck Wetness)
- 1 : สาเหตุสำคัญที่ทำให้ดาดฟ้าเปียก เพราะเรือมีระยะ Freeboard น้อยเกินไป
- 2 : ถ้าเฟสการเคลื่อนที่ระหว่างหัวเรือกับคลื่นแตกต่างกันบ่อยครั้ง ดาดฟ้าบริเวณหัวเรือจะมีโอกาสเปียกบ่อยครั้งขึ้น
- 3 : ความเปียกดาดฟ้ามักวัดเป็นช่วงเวลาที่ช่วงความยาวหนึ่ง ๆ จากหัวเรือเปียกน้ำตลอดเวลานั้นๆ
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 367 :
- ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการกระแทกแบบ Slamming ของหัวเรือ
- 1 : ช่วงเวลาเกิดกระแทกแบบ Slamming มักสั้นกว่า การกระแทกแบบ Impact
- 2 : หลังจากเกิด Slamming แรงจะเริ่มแผ่จากด้านข้างตัวเรือเข้าสู่แนวกลางลำเรือ
- 3 : ความลาดเอียงของท้องเรือและความเร็วสัมพันธ์ของหัวเรือมีความสำคัญต่อการพิจารณาการเกิด Slamming มากกว่าค่าอัตราเร่งของหัวเรือเพียงอย่างเดียว
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 368 :
- การศึกษาการเกิดการกระแทกแบบ Slamming ของหัวเรือให้ความสนใจองค์ประกอบหลักอะไรบ้าง
- 1 : จุดกระแทกหัวเรือ, ความต่างมุมเฟสของการเคลื่อนที่ระหว่างเรือกับคลื่น, ความเร็วสัมพันธ์ของหัวเรือ
- 2 : จุดกระแทกหัวเรือ ความต่างมุมเฟสของการเคลื่อนที่ระหว่างเรือกับคลื่น, อัตราเร่งสัมพันธ์ของหัวเรือ
- 3 : ความเร็วสัมพันธ์และอัตราเร่งสัมพันธ์ของหัวเรือ
- 4 : ความเร็วสัมพันธ์ของหัวเรือและเวลาในการกระแทก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 369 :
- ข้อใดคือสิ่งที่จะต้องนำมาพิจารณาในการศึกษาพลศาสตร์การเคลื่อนที่ของเรือ
- 1 : ความต้านทานที่เพิ่มขึ้น (Added Resistance) เมื่อเรือแล่นในคลื่น
- 2 : ความสูงของ Free Board ที่เหลือและความเปียกของดาดฟ้า (Deck Wetness)
- 3 : การตอบสนองการเคลื่อนที่ของแผ่นท้องเรือต่อการกระแทกแบบ Slamming
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 370 :
- ข้อใดคือผลทางไดนามิกที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของเรือ
- 1 : การกระแทกอย่างฉับพลัน (Slamming) ของท้องเรือบริเวณหัวเรือ
- 2 : ผลจากอัตราเร่งโดยเฉพาะทางดิ่งอันเนื่องมาจากการเคลื่อนที่แบบ pitching และ heaving
- 3 : การลดลงของความเร็วเรือเมื่อเรือแล่นในคลื่น ทำให้ต้องเพิ่มกำลังเรือเพื่อคงความเร็วเดิม
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 371 :
- ผลเสียจากการที่หัวเรือเคลื่อนที่ขึ้นลงในช่วงเวลาหนึ่งๆ บ่อยมากคือ
- 1 : มีโอกาสเกิด Slamming รุนแรงสูง
- 2 : ผู้ปฏิบัติงานในเรืออาจเมาคลื่นได้ง่าย
- 3 : Deck Wetness มักมีค่าสูง
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 372 :
- มนุษย์ทั่วไปจะเริ่มรู้สึกอึดอัดจนมีอาการเมาคลื่น (เมาเรือ) เมื่อต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงอัตราเร่งทางดิ่งของเรือ ช่วงใดเป็นเวลานาน
- 1 : 0 - 0.05 g
- 2 : 0.05 - 0.10 g
- 3 : 0.10 - 0.15 g
- 4 : 0.15 - 0.20 g
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 373 :
- เมื่อเปรียบเทียบกันแล้วการเคลื่อนที่ของเรือแบบใด ทำให้มนุษย์ทั่วไปรู้สึกอึดอัดจนเมาคลื่นได้ง่ายกว่า
- 1 : Rolling
- 2 : Yawing
- 3 : Pitching และ Heaving
- 4 : Swaying และ Surging
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 374 :
- การประเมินขีดความสามารถในการคงทนทะเลของเรือ (Seakeeping) จะพิจารณาผลจากพลศาสตร์การเคลื่อนที่ใน 2 ลักษณะ คือ
- 1 : Free racing และ Rolling
- 2 : Deck Wetness และ Slamming
- 3 : Bow Sinkage และ Bow Swell-up
- 4 : Deck Wetness และ Seasickness
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 375 :
- ผลของพลศาสตร์การเคลื่อนที่ซึ่งเกิดขึ้นกับเรือสามารถแยกออกเป็น 2 ลักษณะคือ
- 1 : ผลจาการเคลื่อนที่ทางขวาง (Horizontal Effects) และผลจากการโคลง (Rolling Effects)
- 2 : ผลจาการเคลื่อนที่ทางดิ่ง (Vertical Effects) และผลจากการเคลื่อนที่ทางขวาง (Horizontal Effects)
- 3 : ผลจาการเคลื่อนที่ทางดิ่ง (Vertical Effects) และผลจากการโคลง (Rolling Effects)
- 4 : ผิดทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 376 :
- สาเหตุใดที่ทำให้เกิดอาการการเมาคลื่น (Sea Sickness) เมื่อเรือเคลื่อนที่ในทะเล
- 1 : การเปลี่ยนแปลงของอัตราเร่งในทางดิ่งมากกว่า 0,1g
- 2 : การเปลี่ยนแปลงของอัตราเร่งในทางดิ่งและทางขวางมากกว่า 0,1g
- 3 : การเปลี่ยนแปลงของอัตราเร่งในทางดิ่งมากกว่า 0,2g
- 4 : การเปลี่ยนแปลงของอัตราเร่งในทางดิ่งและทางขวางมากกว่า 0,2g
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 377 :
- วิธีใดต่อไปนี้ เป็นวิธีที่ง่ายที่สุดในการลดการ Slaming และ Wetness เมื่อเรือปฏิบัติงานในทะเล
- 1 : เปลี่ยนทิศทางในการเดินเรือ
- 2 : ลดความเร็วเรือ
- 3 : หันหัวเรือวิ่งสู้คลื่น
- 4 : วิ่งตามคลื่น
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 378 :
- การเคลื่อนที่แบบ Heaving และ Pitching มีผลของไดนามิก (Dynamic Effects) ต่อเรือในการเคลื่อนที่แบบใด
- 1 : ทางระดับ
- 2 : ทางดิ่ง
- 3 : ทางขวาง
- 4 : ทุกทิศทาง
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 379 :
- การเคลื่อนที่แบบใดที่ไม่มีผลของไดนามิก (Dynamic Effects) ต่อการโคลงของเรือ (Rolling Effects)
- 1 : Heaving
- 2 : Yawing
- 3 : Pitching
- 4 : Rolling
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 380 :
- หากความเร็วเรือลดลงอันเนื่องมาจากคลื่น ถ้าต้องการเพิ่มความเร็วเพื่อรักษาความเร็วเดิม ต้องคำนึงถึงสิ่งใดบ้าง
- 1 : กำลังเครื่องยนต์
- 2 : ความเปียกของดาดฟ้า
- 3 : การกระแทก
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 381 :
- ข้อใดคือสิ่งที่จะต้องนำมาพิจารณาในการศึกษาพลศาสตร์การเคลื่อนที่ของเรือ
- 1 : ความถี่ของการเกิดดาดฟ้าเปียก (Deck Wetness)
- 2 : ขนาดของแรงกดที่เกิดจากการกระแทกแบบฉับพลัน
- 3 : การตอบสนองการเคลื่อนที่ของตัวเรือ ในรูปแรงเค้นและอัตราเร่ง เนื่องจากการกระแทกแบบ Slamming
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 382 :
- จุดใดใช้เป็นจุดอ้างอิงในการพิจารณาพลศาสตร์การเคลื่อนที่ของเรือ
- 1 : Longitudinal Center of Buoyancy
- 2 : Longitudinal Center of Flotation
- 3 : จุดหัวเรือ
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 383 :
- ความเร็วสัมพันธ์ในทางดิ่ง คืออะไร
- 1 : ความเร็วที่ทำให้เกิด Slamming รุนแรงสูง
- 2 : ความเร็วในทางดิ่งของหัวเรือที่สัมพันธ์กับจุด CG
- 3 : ความเร็วในทางดิ่งของหัวเรือที่สัมพันธ์กับระดับผิวหน้าน้ำ
- 4 : ความเร็วในทางดิ่งของหัวเรือที่สัมพันธ์กับระดับกินน้ำลึก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 384 :
- อัตราเร่งสัมพันธ์ของหัวเรือคืออะไร
- 1 : อัตราเร่งที่ทำให้เกิด Slamming รุนแรงสูง
- 2 : อัตราเร่งของหัวเรือที่สัมพันธ์กับจุด CG
- 3 : อัตราเร่งของหัวเรือที่สัมพันธ์กับระดับผิวหน้าน้ำ
- 4 : อัตราเร่งของหัวเรือที่สัมพันธ์กับระดับกินน้ำลึก
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 385 :
- การเคลื่อนที่ของเรือลักษณะใดที่นำมาใช้ในการพิจารณาความคงทนของเรือขณะเคลื่อนที่ในคลื่น
- 1 : การจมลงในน้ำของดาดฟ้ายก
- 2 : การโผล่พ้นน้ำของท้องเรือบริเวณหัวเรือ
- 3 : การโผล่พ้นน้ำของใบจักร
- 4 : มุมเอียงข้างกราบของเรือ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 386 :
- ปัจจัยใดที่นำมาใช้พิจารณาโอกาสที่หัวเรือโผล่พ้นน้ำ
- 1 : ค่า Froude Number
- 2 : อัตราส่วนระดับกินน้ำลึกของเรือต่อความสูงคลื่น
- 3 : อัตราส่วนความยาวคลื่นต่อความยาวเรือ
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 387 :
- ข้อใดเป็นวิธีการลดโอกาสที่ท้องเรือบริเวณหัวเรือโผล่พ้นนำ
- 1 : ลดระดับกินน้ำลึกของเรือ
- 2 : ลดความเร็วเรือ
- 3 : ลดระยะฟรีบอร์ด
- 4 : ติดตั้ง Fin Stabilizer
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 388 :
- ข้อใดไม่ใช่ตัวแปรที่นำมาพิจารณาหาค่า Freeboard ประสิทธิผล
- 1 : ระยะ Freeboard ในน้ำนิ่ง ไม่รวมพลศาสตร์การเอ่อนูนผิวหน้าน้ำ
- 2 : ระดับกินน้ำลึกของเรือ
- 3 : ความสูงที่เกิดจากการกระทำของคลื่นที่หัวเรือสร้างขึ้น
- 4 : การจม (Sinkage) อันเนื่องจากเรือมีความเร็ว
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 389 :
- ค่าใดที่นำมาใช้ในการคำนวณหาจำนวนครั้งที่ดาดฟ้าจมลงน้ำในหนึ่งชั่วโมง
- 1 : คาบเวลาเฉลี่ยของการโคลงแบบ Pitching
- 2 : คาบเวลาเฉลี่ยของการโคลงแบบ Heaving
- 3 : คาบเวลาเฉลี่ยของการโคลงแบบ Rolling
- 4 : คาบเวลาเฉลี่ยของการโคลงแบบ Yawing
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 390 :
- ข้อใดกล่าวผิด เกี่ยวกับการเกิด Pitching และ Heaving อย่างรุนแรงในสภาพคลื่นลมจัด
- 1 : เรือขนาดใหญ่ได้รับความเสียหายจากการกระแทกแบบ Slamming มากกว่าเรือขนาดเล็ก
- 2 : เรือขนาดเล็กความเร็วลดลงมาก
- 3 : เรือขนาดใหญ่ความเร็วลดลงมาก
- 4 : ผิดทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 391 :
- ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบทาง Kinematic ในการศึกษาการกระแทกแบบ Slamming
- 1 : จุดกระแทกที่หัวเรือ
- 2 : จุดกระแทกที่ท้ายเรือ
- 3 : ความต่างมุมเฟสระหว่างการเคลื่อนที่ของคลื่นกับหัวเรือ
- 4 : ขนาดความเร็วสัมพันธ์ของหัวเรือ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 392 :
- ข้อใดกล่าวถูก เกี่ยวกับการกระแทกแบบ Slamming
- 1 : อาจทำให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดอาการเมาคลื่น
- 2 : ความลาดเอียงของหน้าตัดหัวเรือและความเร็วสัมพันธ์ของหัวเรือ มีผลต่อขนาดสูงสุดของแรงกระแทก
- 3 : ตำแหน่งที่เกิดการกระแทกจะเลื่อนไปทางท้ายเรือมากขึ้น เมื่อเรือมีความเร็วมากขึ้น
- 4 : ถูกทุกข้อ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 393 :
- Threshold Velocity คืออะไร
- 1 : ค่าเริ่มต้นของความเร็วสัมพันธ์หัวเรือ ที่เรือจะเริ่มการกระแทกแบบ Slamming
- 2 : ค่าสูงสุดของความเร็วสัมพันธ์หัวเรือ ที่เรือมีการกระแทกแบบ Slamming
- 3 : ค่าเฉลี่ยของความเร็วสัมพันธ์หัวเรือ ที่เรือมีการกระแทกแบบ Slamming
- 4 : ค่าจำกัดต่ำสุดของความเร็วสัมพันธ์หัวเรือ ที่เรือมีการกระแทกแบบ Slamming
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 394 :
- จะเกิดอะไร ถ้าเรือเพิ่มความเร็วขณะแล่นสวนคลื่น
- 1 : มีโอกาสเกิด Slamming มากขึ้น
- 2 : มีโอกาสเกิด Slamming น้อยลง
- 3 : มีโอกาสเกิด Deck Wetness น้อยลง
- 4 : ไม่มีผลใด ๆ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 395 :
- Strip Theory ใช้ในการพิจารณาการเคลื่อนที่แบบใด
- 1 : Rolling and Yawing
- 2 : Swaying and Surging
- 3 : Heaving and Rolling
- 4 : Pitching and Heaving
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 396 :
- การเคลื่อนที่ของเรือแบบใดที่เป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดอาการเมาคลื่นได้ง่าย
- 1 : Rolling and Yawing
- 2 : Swaying and Surging
- 3 : Heaving and Rolling
- 4 : Pitching and Heaving
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 397 :
- กรณีเรือโคลงแบบใดที่ผู้นำเรือมักเปลี่ยนเข็ม เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการกำธร
- 1 : Yawing
- 2 : Pitching
- 3 : Rolling
- 4 : Heaving
- คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 398 :
- เรือจะมีประสิทธิภาพการทรงตัวสถิตย์สูงสุดเมื่อถูกกระทำด้วยโมเมนต์ดัดชนิดใด
- 1 : Hogging
- 2 : Sagging
- 3 : Rolling
- 4 : Heaving
- คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 399 :
- ข้อใดกล่าวผิด เกี่ยวกับผลของพลศาสตร์การเคลื่อนที่ของเรือ
- 1 : การพิจารณาจุดสูงสุดในการตอบสนองการเคลื่อนที่ทางดิ่งของเรือจะใช้Response Amplitude Operator (RAO) เป็นตัวพิจารณา
- 2 : ผลของพลศาสตร์การเคลื่อนที่ซึ่งเกิดขึ้นกับเรือ แยกได้เป็นผลจากการเคลื่อนที่ทางดิ่งและผลจากการโคลง
- 3 : ตัวแปรที่ต้องนำมาพิจารณาพลศาสตร์การเคลื่อนที่ของเรือ ได้แก่ อัตราเร่งเนื่องจากการเกิดการกระแทก
- 4 : การที่หัวเรือโผล่พ้นน้ำทั้งหมดนั้น เกี่ยวข้องโดยตรงกับความเร็วสัมพันธ์ปริมาณมาก ๆ ที่หัวเรือ
- คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 400 :
ตัวแปรใดที่จะต้องนำมาพิจารณาผลของการเคลื่อนที่ทางดิ่งและผลของการโคลง
ก. ความถี่ของการปะทะกับคลี่นที่ทำให้เกิดดาดฟ้าเปียก
ข. กำลังดันที่กระทำกับตัวเรือและการตอบสนองของเรือเมื่อเกิดการกระแทกฉับพลัน
ค. ความสูงของ Superstructure
ง. พลศาสตร์ความเอ่อนูนของผิวหน้าน้ำ
จ. การโผล่ของใบจักร
- 1 : ข้อ ก. ข. จ.
- 2 : ข้อ ข. ค. ง.
- 3 : ข้อ ค. ง. จ.
- 4 : ข้อ ก. ข. ง.
- คำตอบที่ถูกต้อง : 4